880 likes | 907 Views
u0e27u0e34u0e17u0e22u0e32u0e28u0e32u0e2au0e15u0e23u0e4cu0e1eu0e37u0e49u0e19u0e10u0e32u0e19 u0e21.1 <br>u0e40u0e23u0e37u0e48u0e2du0e07u0e17u0e31u0e01u0e29u0e30u0e01u0e23u0e30u0e1au0e27u0e19u0e01u0e32u0e23u0e17u0e32u0e07u0e27u0e34u0e17u0e22u0e32u0e28u0e32u0e2au0e15u0e23u0e4c
E N D
เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์กันอย่างไร?เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์กันอย่างไร? ทำไมเราต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ? เรานำผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ เราเรียกว่า “เทคโนโลยี”
เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
สรุปวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อชีวิตของเราอย่างไรสรุปวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อชีวิตของเราอย่างไร สร้างสิ่งอำนวยสะดวกต่างๆในการดำรงชีวิต
วิทยาศาสตร์คืออะไร ความรู้ของโลกธรรมชาติซึ่งอธิบายได้ ด้วยหลักฐานและความเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์
ปรากฎการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจปรากฎการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจ 1 การเกิด สุริยุปราคา เกิดกลางวัน
2 การเกิดจันทรุปราคา B A B A คือ เงามืด และ B คือ เงามัว เกิดคืนวันพระจันทร์เต็มดวง
คนไทยเรียก จันทรุปราคาว่า จันทรคราส (คนอีสานเรียกกบกินเดือน) ราหูอมจันทร์ คนไทยเรียกสุริยุปราคาว่า สุริยคราส เมื่อเกิดปรากฏการณ์ทั้งสอง คนไทยจะตีกลอง ให้เสียงดังเพื่อขับไล่ราหู ให้ออกไป เพราะกลัวราหูจะกินดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์ เพราะขาดความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 การสังเกต จุดเริ่มต้นของกระบวนการวิทยาศาสตร์ 2 การระบุปัญหา และการตั้งปัญหา 3 การตั้งสมมติฐาน 4 การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง การเก็บข้อมูล 5 การสร้างคำอธิบาย 6 การสรุปผลการทดลอง
การสรุปผล การสังเกต กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การอธิบาย การตั้งปัญหา การทดลอง การตั้งสมมติฐาน
กระบวนการวิทยาศาสตร์ 1 การสังเกต จุดเริ่มต้นของกระบวนการ
การสังเกต เป็นสิ่งที่สำคัญมากในกระบวนการวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสาตร์ที่ใช้การสังเกตสร้างสิ่งประดิษฐ์ กาลิเลโอ 1 ทำนาฬิกาลูกตุ้ม สังเกตการแกว่งของโคมไฟในโบสถ์ 2 ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ การสังเกตดวงดาวต่างๆ
การสังเกตนำไปสู่จุดเริ่มต้นของปัญหาการสังเกตนำไปสู่จุดเริ่มต้นของปัญหา วิธีการสังเกต 1 สังเกตในสิ่งที่ควรสังเกต 2 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่ต้องการหาคำตอบ 3 สังเกตได้เร็วและคล่องแคล่ว
6 การสรุปผล 1 การสังเกต กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5 การอธิบาย 2 การตั้งปัญหา 4 การทดลอง ตัวแปร 3 การตั้งสมมติฐาน ต้น ตาม ควบคุม
การระบุปัญหา นักวิทยาศาสตร์เป็นคนช่างสงสัย อยากรู้อยากเห็น ชอบตั้งปัญหา และหาคำตอบเสมอ เซอร์ไอแซค นิวตัน
สิ่งที่นิวตันสงสัย ทำไมแอปเปิ้ลตกลงดินเสมอ ทำไมไม่ลอยไปในอวกาศ ทำให้ค้นพบแรงโน้มถ่วง
การตั้งสมมติฐาน การตั้งคำตอบไว้ล่วงหน้า หรือ การเดาคำตอบ 1 วิธีการตั้งสมมติฐาน ต้องเข้าใจปัญหาให้ถ่องแท้จึงตั้งสมมติฐานได้ 2 นิยมใช้วลี ถ้า ................แล้ว................ แต่ไม่จำเป็นเสมอไป บางทีก็ใช้ ถ้า.............ดังนั้น………… 3 สมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง 4 สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกต
โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน นายสมพร เดินไปในสนามหญ้าหน้าบ้าน เขาสังเกตเห็นว่าต้นหญ้าบริเวณ ที่อยู่กลางแจ้งเจริญเติบโตได้ดีกว่า บริเวณที่ไม่ได้รับแสงแดด
ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน สมมติฐาน ปัญหา ถ้าแสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการเจริญเติบโตของต้นหญ้า ดังนั้นต้นหญ้าบริเวณที่ไม่ได้รับ แสงแดดก็จะไม่เจริญหรือตายไป แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ เจริญเติบโตของต้นหญ้าหรือไม่ แสงแดดเกี่ยวข้องกับการเจริญ เติบโตของต้นหญ้า
โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน นายดำเลี้ยงปลาสวยงามไว้โดยให้อาหารผสมฮอร์โมนเขาสังเกตว่า ปลาที่เลี้ยงมีสีสันสวยงามงาม
ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน ถ้าฮอร์โมนมีผลต่อสีของปลา สวยงามดังนั้น ปลาที่เลี้ยงด้วย ฮอร์โมนย่อมมีสีสวยกว่าปลา ที่ไม่ได้เลี้ยง ด้วยฮอร์โมน ฮอร์โมนมีผลต่อสีของปลาสวย งามหรือไม่ ฮอร์โมนมีผลต่อสีของปลาสวยงาม
โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน สมชายสูบบุหรี่ทุกวัน วันหนึ่งสมชายป่วยด้วยโรคมะเร็งปอดสมชายสังเกต ว่าคนที่สูบบุหรี่มักเป็นมะเร็งปอด
ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน บุหรี่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด หรือไม่ ถ้าบุหรี่เป็นสาเหตของมะเร็งปอด ดังนั้นคนที่สูบบุหรี่จะเป็นโรค มะเร็งปอด บุหรี่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด
โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน มานีสังเกตเห็นว่าเพื่อนๆของเธอนั้นทั้ง ผู้หญิงและผู้ชายชอบใส่น้ำหอม
ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน ผู้หญิงชอบใส่น้ำหอมมากว่า ผู้ชายหรือไม่ ผู้หญิงชอบใส่น้ำหอมมากว่าผู้ชาย
โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน นายสินธรไปซื้อไข่ไก่ในตลาดมามีทั้งไข่เก่าและไข่ไก่ใหม่เมื่อกลับถึง บ้านนายสินธรนำไข่ไก่ไปลอยน้ำ เพื่อทดสอบว่าไข่ใดเป็นไข่เก่า ไข่ใดเป็นไข่ใหม่
ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน ไข่ใหม่ลอยน้ำ ไข่เก่าจมน้ำ ไข่ใหม่กับไข่เก่าต่างกันอย่างไร ไข่ใหม่จมน้ำ ไข่เก่าลอยน้ำ
วีดีโอ การทดลอง ไข่จม ไข่ลอย
ไข่ใหม่ ช่องอากาศน้อยจึงจม
4 3 2 1
สรุปเรื่องการตั้งปัญหาและสมมติฐานสรุปเรื่องการตั้งปัญหาและสมมติฐาน 1 นักเรียนจะตั้งสมมติฐานแบบใดก็ได้ เพราะสมมติฐานเป็นแนวทางในการทดสอบว่าเป็นจริงหรือไม่ ถ้าเป็นจริงก็ยอมรับสมมติฐานนั้น ถ้าไม่จริงก็ยกเลิกสมมติฐานนั้นไป แล้วหาสมมติฐานที่จริงมาใช้
การสำรวจตรวจสอบ การทดลองหรือเก็บข้อมูล เมื่อตั้งสมมติฐานแล้วก็ต้องทำการทดลอง เพื่อพิสูจน์ว่าสมมติฐานจริงหรือไม่ ก่อนการทดลองเราต้องออกแบบการทดลองก่อน
การออกแบบการทดลอง 1 จะดำเนินการทดลองอย่างไร 2. จะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง 3 จะเก็บข้อมูลอย่างไร 4 ต้องควบคุมอะไรบ้างให้เหมือนกัน 5 ต้องเปลี่ยนอะไรให้เหมาะสม
กิจกรรมที่ 1.3 1 ปัญหา คือ ไข่ใหม่กับไข่เก่าต่างกันอย่างไร ไข่ใหม่จมน้ำ ไข่เก่าลอยน้ำ 2 สมมติฐานคือ ไข่เก่าจมน้ำ ไข่ใหม่ลอยน้ำ 3 การทดลอง ไข่ 3.1 กำหนดตัวแปร ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม การลอย การจม ของไข่ สายพันธุ์ของไข่ ปริมาณน้ำ น้ำ 3.2 ออกแบบการทดลอง 1 เทน้ำใส่แก้ว 2 นำไข่ลอยในน้ำ 3 บันทึกผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลองตารางบันทึกผลการทดลอง เปลือกไม่เรียบ มีนวล เปลือกเรียบ ลื่น มีนวล จมน้ำเอียงตั้งขึ้น จากก้นแก้ว45 องศา จมน้ำตะแคงที่ก้นแก้ว
4 การอภิปรายผลการทดลอง ไข่ที่เก็บไว้หลายวันจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไป มีแก๊สเกิดขึ้นภายในฟอง แก๊สที่เกิดขึ้นจะลอยไปรวมกันที่ด้านมนของฟองไข่ แก๊สเบากว่าน้ำไข่จึง พยายามลอยตัวขึ้นแต่ไข่ไม่อาจลอยเหนือน้ำได้ทั้งฟองเพราะส่วนที่เป็น เนื้อไข่ยังคงมีอยู่และส่วนนี้หนักกว่าน้ำจึงจมอยู่ 5 การสรุปผลการทดลอง สมมติฐานที่ถูกต้อง คือ ไข่ใหม่จมน้ำ ไข่เก่าลอยน้ำ
คำชี้แจง จงออกแบบการทดลอง ไข่ลอย ไข่จม นำไข่ไก่ ใหม่ กับ ไข่ไก่เก่า มาลอยน้ำ 1 บีกเกอร์ 2 ไข่ไก่ใหม่ ไข่ไก่เก่า 3 น้ำ 2 ใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง 3 จะเก็บข้อมูลอย่างไร บันทึกผลลงในตาราง ปริมาณน้ำ 4 ต้องควบคุมอะไรบ้างให้เหมือนกัน 5 ต้องเปลี่ยนอะไรบ้างให้ เหมาะสม
การทดสอบที่เที่ยงตรงในวิทยาศาสตร์การทดสอบที่เที่ยงตรงในวิทยาศาสตร์ ต้องควบคุมตัวแปร 1 ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรอิสระ คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ตัวแปรตาม คือ ผลการทดลองที่ได้จากตัวแปรต้น 3 ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนกันทั้ง 2 ชุดการทดลอง
การทดลองเรื่อง ไข่จมไข่ลอย ตัวแปรต้น คือ ไข่เก่า กับ ไข่ใหม่ ( เพราะทำให้ผลการทดลองที่ได้ต่างกัน) ตัวแปรตาม คือ การลอย หรือ จม ของไข่ไก่ ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณน้ำ น้ำที่ใช้ อุปกรณ์ที่ใช้
ตัวอย่างที่1 เด็กชายมังกรต้องการศึกษาว่าดินต่างชนิดกันมีผลต่อความสูงของต้นพืชหรือไม่ ทำการทดลองโดยปลูกต้นถั่วเขียว ลงในกระถางที่มีขนาดเท่าๆกัน โดยกระถางแต่ละใบใส่ดิน 3 ชนิดคือ ดินเหนียว ดินร่วน ดินทราย รดน้ำปกติ ทำการทดลองเป็นเวลาสองสัปดาห์