1 / 18

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิชา สร้างเสริมสุขภาพ เสนอ. อ.ภิภพ ดีแพ. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สบายดี. ภูมิปัญญาพื้นบ้าน.

kordell
Download Presentation

กลุ่มที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มที่ 2

  2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภาคตะวันออกเฉียงเหนือภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  3. วิชา สร้างเสริมสุขภาพเสนอ อ.ภิภพ ดีแพ

  4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สบายดี

  5. ภูมิปัญญาพื้นบ้าน • คือ องค์ความรู้และประสบการณ์ในการดำรงชีวิตของไทย ที่ก่อเกิดสะสม สืบทอด พัฒนา และใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องในวัฒนธรรมไทย และยังมีการผสมผสานจากวัฒนธรรมภายนอกเพื่อการประยุกต์ใช้ที่เหมาะสม ในที่นี้จะกล่าวถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านแต่ละด้านที่มีการนำมาใช้เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับวิธีชีวิต และวัฒนธรรมไทย

  6. การป้องกันไข้เลือดออกการป้องกันไข้เลือดออก

  7. "ภูมิปัญญาไทย ต้านภัยไข้เลือดออก" • โดยมุ่งหวังให้ประชาชนใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเป็นทางเลือกในการควบคุมยุงลาย   โดยเน้นปฏิบัติตามมาตรการ 5ป 1ข  ได้แก่ กิจกรรม 5 ป. ปราบยุงลาย (เปลี่ยน ปิด ปล่อย ปรับปรุง ปฏิบัติเป็นประจำ) และ 1 ข. ขัดไข่ยุงลาย  • ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ประชาชนป้องกันตนเองไม่ให้ยุงลายกัด โดยใช้ผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อลดการใช้สารเคมีในการป้องกันควบคุมโรคด้วย

  8. มาตรการ 5 ป 1ข  5 ป ปราบยุงลาย 1 ข ขัดไข่ยุงลาย • 1. ปิดภาชนะน้ำกินน้ำใช้ให้มิดชิด • 2. เปลี่ยนน้ำในแจกัน ถังเก็บน้ำ ทุก 7 วัน • 3. ปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะใส่น้ำถาวร • 4.ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ปลอดโปร่ง โล่ง สะอาด ลมพัดผ่าน • 5.ปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นนิสัย  • ขัดไข่ยุงลาย ยุงลายจะไข่เหนือระดับน้ำ 1-2 ซม. ถึงน้ำแห้งก็จะอยู่ได้เป็นปีมีน้ำมาท่วมไข่ก็พร้อมจะแตกตัวเป็นลูกน้ำภายในได้ใน 30 นาที  จึงจำเป็นต้องมีการขัดไข่ยุงลาย โดยใช้ใยขัดล้าง หรือแปรงชนิดนุ่มช่วยในการขัดล้าง และทิ้งน้ำที่ขัดล้างนั้นบนพื้นดินเพื่อให้ไข่แห้งตายไปไม่ควรทิ้งลงท่อระบายน้ำ ซึ่งอาจจะเป็นแหล่งน้ำใสนิ่งทำให้ไข่บางส่วนรอดและเจริญเป็นลูกน้ำและยุงลายได้อีก  

  9. นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นกำจัดยุงลายป้องกันไข้เลือดออกนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นกำจัดยุงลายป้องกันไข้เลือดออก • 1.การใช้มะกรูดบากผิวใส่ลงในภาชนะขังน้ำ 1 ลูกต่อพื้นที่น้ำ 40 ตารางนิ้ว ป้องกันได้ 2 วัน  • 2.การใช้ตาข่ายไนล่อนหรือผ้าขาวบางมาปิดปากโอ่งรัดด้วยเชือก ป้องกันไม่ให้ยุงลายมาวางไข่  • 3.นำถุงใส่ตะไคร้หอมวางบริเวณที่อับเช่น ตู้เสื้อผ้า ห้องน้ำ จะไล่ยุงไม่ให้มารบกวนได้  • 4.ปี๊บดักยุง โดยใช้ปี๊บขนมปังเปิดฝาใส่ผ้าสีทึบหรือถุงเท้า ยุงจะเข้าไปตอนกลางคืน ตอนเช้าเอาปี๊บไปตากแดด 2 ชั่วโมงเพื่อฆ่ายุง 

  10. ต่อ • 5.ใช้น้ำยาล้างจานผสมน้ำหนึ่งกระบอก ฉีดไปตามมุมบ้านจะช่วยลดจำนวนยุงลายในบ้าน  • 6.ให้ใช้น้ำยาล้างจานทาให้ทั่วจานพลาสติกสำหรับใช้โฉบจับยุงที่บินมากวนใกล้ๆ ตัว ยุงจะถูกจับตายอยู่บนจาน   • 7.ใช้ปูนแดงปั้นขนาดเท่าลูกปิงปอง  ตากให้แห้ง 3 วัน ใช้ 1 ก้อนใส่ในโอ่งมังกร 1 ใบ ป้องกันได้ 3 เดือน  • 8.ใช้อิฐมอญเผาร้อนจนอิฐเป็นสีแดง ใช้คีมคีบใส่ในโอ่ง 1 ก้อนต่อ 1 โอ่ง ป้องกันได้ 1 เดือน  

  11. ภาพประกอบนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  12. ประโยชน์ที่ได้รับ • การประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนของตนเองมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการรักษาดูแลสุขภาพ รวมถึงการพึ่งพาภูมมิปัญญาของแพทย์ที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดภูมิปัญญาไทยจึงมีความสำคัญต่อสุขภาพในเรื่องของการบำบัด บรรเทา รักษาป้องกันโรคและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง นอกจากภูมิปัญญาทางการแพทย์ของคนไทยจะช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีแล้วยังช่วยลดปัญหาสาธารณสุขของประเทศชาติได้

  13. ประโยชน์ที่ได้รับ

  14. ข้อแนะนำหากมีอาการป่วยมีไข้ข้อแนะนำหากมีอาการป่วยมีไข้ “ในโอกาสนี้ ขอแนะนำประชาชน หากท่านใดมีอาการป่วยมีไข้ กินยาลดไข้แล้วไข้ยังลอยไม่ลด 2-3 วัน คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร หน้าแดง ปวดเมื่อยตามร่างกาย ซึ่งเป็นอาการเบื้องต้นของไข้เลือดออก ไม่ต้องรอให้เกิดจุดเลือดใต้ผิวหนัง ให้รีบไปพบแพทย์เพื่อเจาะเลือดตรวจ ก่อนที่ผู้ป่วยจะเกิดอาการช็อกและเสียชีวิต และหลังการรักษาโรคไข้เลือดออกแล้ว ช่วงที่ไข้ลดลงในวันที่ 3-4 หากผู้ป่วยซึมลง กินอาหารดื่มน้ำไม่ได้ให้รีบกลับมาหาแพทย์เพื่อรักษาให้ทันท่วงที

  15. คณะผู้จัดทำ • 1.คุณชมพู่ ไชยบุตรดี เลขที่ 9 • 2. คุณณัฐนิชา พลหนองหลวง เลขที่ 11 • 3. คุณทุมมี ช้อนทอง เลขที่ เลขที่ 14 • 4. คุณธนวันต์ เง่องาม เลขที่ เลขที่ 16 • 5. คุณบรรจง ใจน้อย เลขที่ เลขที่ 19 • 6. คุณประทุมมา ลำดับ เลขที่ เลขที่ 20 • 7. คุณพิชยา ฟองศักดิ์ เลขที่ เลขที่ 27 • 8. คุณสิริกาญจน์ กลิ่นหวาน เลขที่ 43 • 9. คุณสุรีรัตน์ วงแก้ว เลขที่ เลขที่ 48 • 10. คุณเสาวนีย์ เมินดี เลขที่ เลขที่ 49

  16. แหล่งที่มา • http://www.moph.go.th/ops/iprg/include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_new=55306 • http://www.mcot.net/site/content?id=517f6d02150ba050380002b4 • http://www.mcot.net/site/content?id=517f6d02150ba050380002b4#.UjnKitJHIRM

  17. สวัสดีค่ะ

More Related