1 / 42

บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์

บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์. ผศ . เชิญโชค ศรขวัญ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 6 มิถุนายน 2550. เน้นหลักการ. ผสานหลักวิชา. สร้างภูมิปัญญาที่ยั่งยืน. บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์. เศรษฐกิจ.

kolina
Download Presentation

บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์ ผศ. เชิญโชค ศรขวัญ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 6 มิถุนายน 2550

  2. เน้นหลักการ ผสานหลักวิชา สร้างภูมิปัญญาที่ยั่งยืน บูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์ เศรษฐกิจ การเรียนการสอน ความพอประมาณ กำหนดเป้าหมาย ความมีเหตุและผล Systematic Research การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว Life Long Learning

  3. สอนอย่างไรให้พอเพียง:รู้ลึก รู้จริง รู้นาน

  4. เตรียมสอน/เตรียมเรียน อย่างไรให้พอดี ครู-ศิษย์ คิดต่างกัน

  5. ความคาดหวัง(การเตรียมตัว)ของนักเรียนความคาดหวัง(การเตรียมตัว)ของนักเรียน • พวกเขาจะได้เรียนอะไร • ฟิสิกส์คืออะไร • ทักษะอะไรที่พวกเขาจำเป็นจะต้องมี • อะไรคือสิ่งที่พวกเขาต้องทำเพื่อให้ประสบความสำเร็จในการเรียน

  6. บทบาทของความคาดหวัง • มีบทบาทสำคัญต่อการตอบสนองของนักเรียน • มีผลกระทบต่อสิ่งที่พวกเขาสนใจและตั้งใจฟังในระหว่างการเรียน • มีผลต่อการแปรความหมายจากสิ่งที่พวกเขาได้ยิน • มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างความรู้และความเข้าใจของพวกเขา

  7. Maryland Physics Expectation (MPEX) • Maryland Physics Expectations (MPEX) ถูกสร้างขึ้นในปี ค. ศ. 1992 ที่ University of Washington • เพื่อวัดความคาดหวังของนักเรียน • 34 ข้อความ Try it!

  8. Maryland Physics Expectation (MPEX) แบ่งเป็น 6 กลุ่ม ความคาดหวัง • Independence เป็นความคาดหวังเกี่ยวกับการเรียนรู้ฟิสิกส์ ว่าเป็นการเรียนรู้โดยการได้รับข้อมูลมาหรือเป็นการเรียนรู้ที่ต้องสร้างความเข้าใจด้วยตัวเอง • Coherence เป็นความคาดหวังเกี่ยวกับโครงสร้างของความรู้ทางฟิสิกส์ ว่าเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันหรือเป็นสิ่งที่ไม่ขึ้นต่อกัน

  9. Maryland Physics Expectation (MPEX) • Concepts เป็นความคาดหวังเกี่ยวกับเนื้อหาความรู้ทางฟิสิกส์ ว่าเป็นเรื่องของสูตรหรือหลักการที่อยู่ภายในสูตร • Reality Link เป็นความคาดหวังเกี่ยวกับการเชื่อมโยงระหว่างฟิสิกส์และโลกของความเป็นจริง

  10. Maryland Physics Expectation (MPEX) • Math Link เป็นความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของคณิตศาสตร์ในการเรียนฟิสิกส์ คณิตศาสตร์เป็นเพียงสูตรที่ใช้คำนวณเพื่อให้ได้ตัวเลขหรือคณิตศาสตร์ถูกใช้เพื่ออธิบายปรากฎการณ์ทางฟิสิกส์ • Effort เป็นความคาดหวังเกี่ยวกับลักษณะของกิจกรรมหรืองานที่จำเป็นในการเรียนรู้และเข้าใจฟิสิกส์

  11. กิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์บูรณาการกิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์บูรณาการ เพื่อความเข้าใจที่ยาวนาน และพอเพียง

  12. การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ รัชภาคย์ จิตต์อารี ทีมวิจัยฟิสิกส์ศึกษา ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 6 มิถุนายน 2550 โรงแรมเจ้าพระยาพาร์ค กรุงเทพฯ

  13. การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ความพร้อมของผู้เรียน การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ สื่อที่การสอนที่ดี ความพร้อมของผู้สอน

  14. การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ “Tell me and I'll forget, show me and I may remember,involve me and I'll understand.”

  15. การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ยุคใหม่การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ Hands On Activities

  16. การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์

  17. การเรียนรู้แบบสืบเสาะการเรียนรู้แบบสืบเสาะ กระตุ้นสมอง การเรียนรู้แบบสืบเสาะ ตามติดประเมิน ทดลองสำรวจ ขยายแนวคิด ตรวจสอบอธิบาย

  18. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการ

  19. กิจกรรม ยอดนักสืบ

  20. กิจกรรมซ่อนความลับ

  21. สาร B สาร A cotton buds cotton buds กระดาษบันทึก ความลับ กระดาษบันทึก ความลับ กระดาษบันทึก ความลับ ปากกาวิเศษ

  22. สาร A ชุดตรวจสอบความลับ เตารีด UV LIGHT ปากกาเรืองแสง สาร B แอมโมเนีย

  23. สาร A นม เตารีด โปรตีน ในน้ำนมเกิดการเผาไหม้ได้เร็วกว่า ?

  24. ? ฟีนอล์ฟทาลีน แอมโมเนีย สาร B

  25. ? สารเรืองแสง ปากกาวิเศษ UV LIGHT เกิดการเรืองแสง

  26. v4 v3 s1 iii v2 s1 v1 i ii ii iv s0 s0 A. B. การเรืองแสง (Luminescence) อะตอมถูกกระตุ้นให้มีการเปลี่ยนสถานะ จากสถานะพื้น(groundstate) ไปยังสถานะถูกกระตุ้น (excited states)ด้วยแสง สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาหลังการกระตุ้นคือ อะตอมบางชนิดมีการคายพลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของพลังงานแสง เราเรียกว่า การเรืองแสง(Luminescence) • การเรืงแสงในอะตอม • การเรืองแสงในโมเลกุล

  27. การวาวแสง (Fluorescence) • การเรืองแสงที่เราสนใจในที่นี้เป็นการเรืองแสงที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยแสง จึงมีการเรียกชื่อเฉพาะสำหรับการเรืองแสงเช่นนี้ว่า การวาวแสง(Fluorescence) • ข้อน่าสังเกตประการหนึ่งเกี่ยวกับวาวแสงคือ ทันทีที่หยุดการกระตุ้นปรากฏการณ์วาวแสงจะหยุดลงทันที

  28. ปรากฏการณ์เรืองแสงในชีวิตประจำวันปรากฏการณ์เรืองแสงในชีวิตประจำวัน • ผงซักฟอกจะมีการผสมสารที่เรียกว่า optical brightener • ยาสีฟันที่มีสารทำให้ฟันขาวซึ่งแสง UV มีผลต่อสารดังกล่าวและเกิดการวาวแสงขึ้นที่เคลือบฟันจึงทำให้ฟันของเราดูขาวขึ้น

  29. ตัวอย่างของปรากฏการณ์เรืองแสงตัวอย่างของปรากฏการณ์เรืองแสง

  30. นิติวิทยาศาสตร์

  31. วัตถุพยาน คราบเลือด คราบอสุจิ รอยนิ้วมือแฝง วัตถุพยานต่างๆ

  32. กิจกรรมลายนิ้วมือของฉันกิจกรรมลายนิ้วมือของฉัน

  33. ใบงานเรื่องลายนิ้วมือของฉันใบงานเรื่องลายนิ้วมือของฉัน มือข้างที่ฉันเลือกคือ  ซ้าย  ขวา นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย การสังเกต การจัดจำแนก การสรุปผล นิ้วหัวแม่มือ ของฉันเป็นแบบ……………. นิ้วชี้ ของฉันเป็นแบบ……………………. นิ้วกลาง ของฉันเป็นแบบ………………… นิ้วนาง ของฉันเป็นแบบ…………………. นิ้วก้อย ของฉันเป็นแบบ…………………. สรุป……………………………………………………………………………………………… กิจกรรมลายนิ้วมือของฉัน คู่มือจำแนกลายนิ้วมือ 1. แบบพับหวาย (Loop) 2. แบบก้นหอย (Whorl) 3. แบบโค้ง (Arch) 4. แบบผสม (Mixed)

  34. กิจกรรมนักสืบตัวน้อย

  35. การเก็บหลักฐานรอยนิ้วมือแฝงแบบที่ 1

  36. การเก็บหลักฐานรอยนิ้วมือแฝงแบบที่ 2

  37. โจรปล้นแม่ค้า ส้มตำรถเข็น กลางวันแสกๆ คดีอุกอาจ วัตถุพยานไม้อัด วัตถุพยานธนบัตร วัตถุพยานกระดาษ

  38. ผู้ต้องสงสัย 1 2 3 4 5 6

  39. ใบงานตามหาผู้ร้าย วัตถุพยานไม้อัด วัตถุพยานธนบัตร วัตถุพยานกระดาษ

  40. วัสดุ-อุปกรณ์ วัตถุพยานไม้อัด วัตถุพยานธนบัตร วัตถุพยานกระดาษ

  41. 1 2 3 4 5 6 รอยนิ้วมือแฝงที่ตรวจพบ วัตถุพยานไม้อัด วัตถุพยานธนบัตร วัตถุพยานกระดาษ

  42. PHYSICS EDUCATION NETWORK OF THAILAND http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/penthai sccsk@mahidol.ac.th DEPARTMENT OF PHYSICS FACULTY OF SCIENCE MAHIDOL UNIVERSITY INSTITUTE FOR INNONATION AND DEVELOPMENT OF LEARNING PROCESS MAHIDOL UNIVERSITY

More Related