1.55k likes | 3.01k Views
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙. สำนักงานศาลปกครอง. เหตุผลในการตรากฎหมาย. กำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนต่างๆ สำหรับการดำเนินงานทางปกครอง ให้การดำเนินงานเป็นไปโดยถูกต้อง มีประสิทธิภาพ ในการบังคับใช้กฎหมาย
E N D
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองพ.ศ. ๒๕๓๙ สำนักงานศาลปกครอง
เหตุผลในการตรากฎหมาย • กำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนต่างๆ สำหรับการดำเนินงานทางปกครอง • ให้การดำเนินงานเป็นไปโดยถูกต้อง มีประสิทธิภาพ ในการบังคับใช้กฎหมาย • สามารถรักษาประโยชน์สาธารณะได้ อำนวยความเป็นธรรม ป้องกันการทุจริต สำนักวิจัยและวิชาการ
ขอบเขตของกฎหมาย • บททั่วไป : ขอบเขตการบังคับใช้ / หลักและข้อยกเว้น • หมวด 1 คณะกรรมการ วิปฏิบัติ • หมวด 2 คำสั่งทางปกครอง • หมวด 3 ระยะเวลาและอายุความ • หมวด 4 การแจ้ง • หมวด 5 คณะกรรมการ • บทเฉพาะกาล สำนักวิจัยและวิชาการ
การกระทำของฝ่ายปกครองการกระทำของฝ่ายปกครอง การกระทำทั่วไป การกระทำทางปกครอง ปฏิบัติการทางปกครอง การกระทำฝ่ายเดียว การวินิจฉัยข้อพิพาท การกระทำสองฝ่าย กฎ คำสั่งทางปกครอง สัญญาทางปกครอง โดยกฎหมาย โดยเนื้อหา สำนักวิจัยและวิชาการ
บททั่วไป • ความเป็นกฎหมายกลาง : • วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. นี้ • กรณีที่กฎหมายนี้ไม่นำไปใช้บังคับ ๙ กรณี สำนักวิจัยและวิชาการ
คำจำกัดความ • วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง • การพิจารณาทางปกครอง • คำสั่งทางปกครอง • กฎ • คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท • เจ้าหน้าที่ • คู่กรณี สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง • องค์ประกอบ • ประธานกรรมการ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัด มท. เลขาธิการ ครม. เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ สคก. ผู้ทรงคุณวุฒิ ๕-๙ คน • อำนาจหน้าที่ • สอดส่องดูแล ให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา • ให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลมาชี้แจงหรือแสดงความเห็น • เสนอแนะการตรา พ.ร.ฎ. และการออกกฎกระทรวง • จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ นี้ • เรื่องอื่นตามที่ ครม. หรือ นรม. มอบหมาย สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งทางปกครอง หมวด ๒ สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งทางปกครอง • ขั้นเข้าสู่กระบวนการพิจารณา • ขั้นพิจารณาเพื่อออกคำสั่งฯ • ขั้นเสร็จกระบวนพิจารณาฯ • ขั้นทบทวนคำสั่งทางปกครอง • ขั้นบังคับตามคำสั่งฯ 1. เจ้าหน้าที่ 2. คู่กรณี 3. การพิจารณาทางปกครอง 4. รูปแบบและผลของคำสั่ง 5. การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง 6. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง 7. การขอให้พิจารณาใหม่ 8. การบังคับทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
หลักกฎหมายว่าด้วยกระบวนการพิจารณาทางปกครองหลักกฎหมายว่าด้วยกระบวนการพิจารณาทางปกครอง 1. ชั้นการเข้าสู่กระบวนพิจารณาทางปกครอง (การกำหนดตัวบุคคลที่จะเข้าสู่กระบวนการฯ) 2. ชั้นดำเนินการพิจารณาทางปกครอง 5. ชั้นบังคับการตามคำสั่งทางปกครอง 3. ชั้นเสร็จการพิจารณาทางปกครอง 4. ชั้นทบทวนคำสั่งทางปกครอง หลักว่าด้วยแบบของคำสั่งทางปกครอง หลักว่าด้วยการแจ้งหรือการประกาศคำสั่งทางปกครอง สั่งให้ชำระเงิน สั่งให้กระทำหรือ ละเว้นกระทำ ฝ่ายเจ้าหน้าที่ของรัฐ ฝ่ายคู่กรณี หลักการพิจารณาต้องมีประสิทธิภาพ การขอให้พิจารณาใหม่ หลักการพิจารณาโดยเปิดเผย ทบทวน โดย จนท. อุทธรณ์ สำนักวิจัยและวิชาการ
หลักกฎหมายว่าด้วยกระบวนการพิจารณาทางปกครองหลักกฎหมายว่าด้วยกระบวนการพิจารณาทางปกครอง หลักสำคัญ หลักอุปกรณ์ 1. ชั้นการเข้าสู่กระบวนพิจารณาทางปกครอง (การกำหนดตัวบุคคลที่จะเข้าสู่กระบวนการฯ) 2. ชั้นดำเนินการพิจารณาทางปกครอง 5. ชั้นบังคับการตามคำสั่งทางปกครอง 3. ชั้นเสร็จการพิจารณาทางปกครอง 4. ชั้นทบทวนคำสั่งทางปกครอง (วิถีทางต่าง ๆ ในการทบทวน) หลักว่าด้วยแบบของคำสั่งทางปกครอง หลักว่าด้วยการแจ้งหรือการประกาศคำสั่งทางปกครอง ขอบเขต หลักการ จุดสมดุลระหว่างประโยชน์สองด้าน ฝ่ายเจ้าหน้าที่ของรัฐ ฝ่ายคู่กรณี การขอให้พิจารณาใหม่ ทบทวน โดย จนท. อุทธรณ์ การทำเอกสารเป็นภาษาไทย การแก้ไขข้อบกพร่องของคำขอ การยืนยันคำสั่งเป็นหนังสือ การแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยในคำสั่ง หลักการพิจารณาต้องมีประสิทธิภาพ หลักการพิจารณาโดยเปิดเผย สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งทางปกครอง หมวด ๒ ขั้นที่ ๑ เข้าสู่กระบวนพิจารณา สำนักวิจัยและวิชาการ
1. ชั้นการเข้าสู่กระบวนพิจารณาทางปกครอง ฝ่ายเจ้าหน้าที่ของรัฐ ฝ่ายคู่กรณี หลักความเป็นกลาง ต้องมีอำนาจ มีส่วนได้เสีย ความสามารถของคู่กรณี การเป็นตัวแทน บุคคลธรรมดา นิติบุคคล คณะบุคคล พื้นที่ เนื้อหา ระยะเวลา
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๑ เจ้าหน้าที่ ขั้นที่ ๑ เข้าสู่กระบวนพิจารณา สำนักวิจัยและวิชาการ
เจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง • หลักว่าด้วยอำนาจของเจ้าหน้าที่ • คำสั่งทางปกครองต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจ • การพิจารณาอำนาจของเจ้าหน้าที่ • ข้อพิจารณาด้านเนื้อหา • ข้อพิจารณาด้านพื้นที่ • ข้อพิจารณาด้านระยะเวลา สำนักวิจัยและวิชาการ
เจ้าหน้าที่ต้องมีความเป็นกลางเจ้าหน้าที่ต้องมีความเป็นกลาง • หลักคำสั่งทางปกครองต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ที่เป็นกลาง • ลักษณะของความไม่เป็นกลาง และข้อยกเว้นหลักความเป็นกลาง • ผลเมื่อปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ไม่เป็นกลาง • การคัดค้านเจ้าหน้าที่หรือกรรมการที่ไม่เป็นกลาง • การดำเนินการเมื่อปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ไม่เป็นกลาง หรือเมื่อถูกคัดค้าน • กรณีเจ้าหน้าที่หรือคณะกรรมการพ้นจากตำแหน่งไม่กระทบการใดที่ได้ปฏิบัติไปตามอำนาจหน้าที่ สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วน ๒ คู่กรณี ขั้นที่ ๑ เข้าสู่กระบวนพิจารณา สำนักวิจัยและวิชาการ
1. ชั้นการเข้าสู่กระบวนพิจารณาทางปกครอง ฝ่ายเจ้าหน้าที่ของรัฐ ฝ่ายคู่กรณี หลักความเป็นกลาง ต้องมีอำนาจ มีส่วนได้เสีย ความสามารถของคู่กรณี การเป็นตัวแทน บุคคลธรรมดา นิติบุคคล คณะบุคคล พื้นที่ เนื้อหา ระยะเวลา
คู่กรณี • ลักษณะของคู่กรณี (1) บุคคลธรรมดา คณะบุคคล นิติบุคคล (2) สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ • คู่กรณีต้องมีความสามารถตามกฎหมาย • คู่กรณีตั้งตัวแทนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้ • การตั้ง การบอกเลิก และการดำเนินการของตัวแทนร่วม • คู่กรณีมีสิทธินำทนายความ/ที่ปรึกษาเข้ามาในการพิจารณาทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งทางปกครอง หมวด ๒ ขั้นที่ ๒ การพิจารณาทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วน ๓ การพิจารณา ขั้นที่ ๒ การพิจารณาทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
2. ชั้นการดำเนินกระบวนพิจารณาทางปกครอง พิจารณาอย่างมีประสิทธิภาพ พิจารณาโดยเปิดเผย ใช้หลักการไต่สวนในการแสวงหาข้อเท็จจริง การให้สิทธิโต้แย้ง ให้คู่กรณีเข้ามามีส่วนร่วม
การพิจารณาทางปกครอง • เอกสารที่ยื่นต้องจัดทำเป็นภาษาไทย • ให้เจ้าหน้าที่แจ้งสิทธิและหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาฯ ให้คู่กรณีทราบตามความจำเป็น • ถ้าคำขอมีข้อบกพร่อง ให้เจ้าหน้าที่แนะนำให้คู่กรณีแก้ไข เพิ่มเติมให้ถูกต้อง สำนักวิจัยและวิชาการ
หลักการไต่สวนในการแสวงหาข้อเท็จจริงหลักการไต่สวนในการแสวงหาข้อเท็จจริง • เจ้าหน้าที่อาจตรวจสอบข้อเท็จจริงตามความเหมาะสม โดยไม่ผูกพันกับคำขอหรือพยานหลักฐานของคู่กรณี • เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาพยานหลักฐานที่เห็นว่าจำเป็นแก่การพิสูจน์ข้อเท็จจริง • คู่กรณีมีหน้าที่ให้ความร่วมมือในการพิสูจน์ข้อเท็จจริง แจ้งพยานหลักฐานที่ตนทราบแก่เจ้าหน้าที่ สำนักวิจัยและวิชาการ
การให้สิทธิโต้แย้ง (หลักฟังความสองฝ่าย) • กรณีที่คำสั่งฯอาจกระทบสิทธิของคู่กรณี ต้องให้คู่กรณีมีโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ และมีโอกาสโต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน • ข้อยกเว้นของหลักฟังความสองฝ่าย • จำเป็นรีบด่วน ปล่อยเนิ่นช้าจะเสียหายร้ายแรง/กระทบประโยชน์สาธารณะ • จะมีผลทำให้ระยะเวลาที่กฎหมาย/กฎกำหนดไว้ในการทำคำสั่งฯต้องล่าช้า • เป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีให้ไว้ • โดยสภาพเห็นได้ชัดว่า การให้โอกาสไม่อาจกระทำได้ • เมื่อเป็นมาตรการบังคับทางปกครอง • กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ห้ามให้โอกาสข้างต้น ถ้าจะก่อให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ สำนักวิจัยและวิชาการ
คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเป็นต้องรู้ คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเป็นต้องรู้ เพื่อการโต้แย้งหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิของตนได้ • ถ้ายังไม่ได้ทำคำสั่ง คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดูเอกสารต้นร่างคำวินิจฉัย • เจ้าหน้าที่อาจไม่อนุญาตให้ตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐาน ถ้าต้องรักษาไว้เป็นความลับ การตรวจดูเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการดูและทำสำเนา ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งทางปกครอง หมวด ๒ ขั้นที่ ๓ ขั้นเสร็จการพิจารณาทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๔ รูปแบบและผลของคำสั่งทางปกครอง ขั้นที่ ๓ ขั้นเสร็จการพิจารณาทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
3. ชั้นเสร็จกระบวนพิจารณา : การออกคำสั่งทางปกครอง แบบของคำสั่ง การแจ้งคำสั่งทางปกครอง รูปแบบคำสั่ง การให้เหตุผล เงื่อนไขการแจ้ง คำสั่งทางปกครองมีผลเมื่อได้แจ้ง แจ้งแก่ใคร แจ้งอย่างไร แจ้งอะไร วาจา หนังสือ รูปแบบอื่น เจาะจงตัว สาระสำคัญของคำสั่ง ผู้รับคำสั่ง ปิดประกาศ ผู้แทน ระบุรายการต่าง ๆ ประกาศ นสพ. FAX
รูปแบบของคำสั่งทางปกครองรูปแบบของคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งฯอาจทำเป็นหนังสือ วาจา หรือโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่น • แสง • เสียง • สัญญาณ • คำสั่งฯด้วยวาจา ถ้าผู้รับคำสั่งร้องขอภายใน 7 วัน นับแต่วันมีคำสั่ง เจ้าหน้าที่ต้องยืนยันคำสั่งเป็นหนังสือ สำนักวิจัยและวิชาการ
รูปแบบของคำสั่งทางปกครองรูปแบบของคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งฯที่ทำเป็นหนังสือ อย่างน้อยต้องระบุ • วัน/เดือน/ปี ที่ทำคำสั่ง • ชื่อและตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่ง • ลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่ง • เหตุผลในการออกคำสั่ง • ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ • ข้อกฎหมายที่อ้างอิง • ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ • สิทธิอุทธรณ์คำสั่ง และ สิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งฯที่ไม่ต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ในคำสั่ง คำสั่งฯที่ไม่ต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ในคำสั่ง • มีผลตรงตามคำขอ และไม่กระทบสิทธิและหน้าที่ของบุคคลอื่น • เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยไม่จำเป็นต้องระบุอีก • กรณีต้องรักษาความลับ • ออกคำสั่งฯด้วยวาจา กรณีเร่งด่วน แต่ต้องให้เหตุผลเป็นลายลักษณ์อักษรในเวลาอันสมควร หากผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งฯร้องขอ • การแจ้งสิทธิอุทธรณ์ • การแจ้งสิทธิการฟ้องคดีต่อศาลปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
การกำหนดเงื่อนไขประกอบคำสั่งฯการกำหนดเงื่อนไขประกอบคำสั่งฯ กำหนดเงื่อนไขได้เท่าที่จำเป็นฯ • ให้สิทธิหรือหน้าที่เริ่มมีผล/สิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง • ให้การเริ่มมีผล/สิ้นผลของสิทธิหรือหน้าที่ต้องขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอน • ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำสั่งทางปกครอง • การกำหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้องกระทำ งดเว้นกระทำ มี/ยอมรับภาระหน้าที่ /ความรับผิดชอบบางประการ • กำหนดข้อความในการจัดให้มี เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มข้อกำหนด สำนักวิจัยและวิชาการ
กรณีที่ไม่ทำให้คำสั่งฯไม่สมบูรณ์กรณีที่ไม่ทำให้คำสั่งฯไม่สมบูรณ์ • ออกคำสั่งฯโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอถ้าต่อมามีการยื่นคำขอ • คำสั่งที่ต้องจัดให้มีเหตุผลถ้าได้มีการจัดให้มีเหตุผลในภายหลัง • การรับฟังคู่กรณีที่ดำเนินการมาไม่สมบูรณ์ ถ้าได้มีการรับฟังให้สมบูรณ์ในภายหลัง • คำสั่งฯที่ต้องให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน ถ้าเจ้าหน้าที่นั้นได้ให้ความเห็นชอบในภายหลัง • กรณี 2-4 ต้องกระทำก่อนสิ้นสุดการพิจารณาอุทธรณ์ หรือก่อนมีการนำ คำสั่งฯไปสู่การพิจารณาของผู้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกต้องของ คำสั่งฯนั้น สำนักวิจัยและวิชาการ
การมีผลและสิ้นผลของคำสั่งทางปกครองการมีผลและสิ้นผลของคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งฯมีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่ “ได้รับแจ้ง” • คำสั่งฯที่สื่อความหมายรูปแบบอื่นมีผลเมื่อ “ได้แจ้ง”(คำสั่งที่เป็น เสียง แสง สัญญาณ) • คำสั่งฯย่อมมีผลตราบเท่าที่ • ยังไม่มีการเพิกถอน หรือ • ยังไม่สิ้นผลโดยเงื่อนเวลา หรือ • ยังไม่สิ้นผลโดยเหตุอื่น สำนักวิจัยและวิชาการ
การแจ้งคำสั่งทางปกครองการแจ้งคำสั่งทางปกครอง เงื่อนไขการแจ้ง คำสั่งทางปกครองมีผลเมื่อได้แจ้ง แจ้งอย่างไร แจ้งแก่ใคร แจ้งอะไร เจาะจงตัว ผู้รับคำสั่ง สาระสำคัญของคำสั่ง ปิดประกาศ ผู้แทน ประกาศ นสพ. FAX สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ขั้นที่ ๔ การทบทวนคำสั่งทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๕ การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง ขั้นที่ ๔ การทบทวนคำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๖ การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๗ การขอให้พิจารณาใหม่ สำนักวิจัยและวิชาการ
4. ชั้นทบทวนคำสั่งทางปกครอง การทบทวนโดยเจ้าหน้าที่ การอุทธรณ์ การขอให้พิจารณาใหม่ การเพิกถอนคำสั่ง 1. มีพยานหลักฐานใหม่ 2. คู่กรณีที่แท้จริงไม่ได้เข้ามาใน กระบวนการ 3. จนท. ไม่มีอำนาจทำคำสั่ง 4. ข้อเท็จจริงหรือกฎหมายเปลี่ยนแปลง คู่กรณีต้องอุทธรณ์เป็นหนังสือภายใน 15 วัน นับแต่ได้รับแจ้ง การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคำสั่ง
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๕ การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง ขั้นที่ ๔ การทบทวนคำสั่งทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
การอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งทางปกครองการอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งฯไม่ได้ออกโดย รมต. หรือ คณะกรรมการ และไม่มีกฎหมายกำหนด ขั้นตอนอุทธรณ์โดยเฉพาะ ให้อุทธรณ์ตามกฎหมายนี้ ดังนี้ • ต้องทำเป็นหนังสือระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริง หรือข้อกฎหมายที่อ้างอิง • ให้ยื่นภายใน 15 วัน หากไม่แจ้งสิทธิอุทธรณ์ ขยายระยะเวลาเป็น 1 ปี • ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้มีคำสั่ง • คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานต่าง ๆ • กรณีไม่พอใจผลการพิจารณาอุทธรณ์สามารถฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้ • การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุทุเลาการบังคับตามคำสั่งฯเว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาฯ สำนักวิจัยและวิชาการ
การพิจารณาอุทธรณ์ • เจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่งพิจารณาโดยไม่ชักช้า แต่ต้องไม่เกิน 30 วัน กรณี • กรณีไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนให้รายงานพร้อมเหตุผลให้ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ • ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์พิจารณ์ให้เสร็จภายใน 30 วัน และขยายได้อีกไม่เกิน 30 วัน • ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 4 • เจ้าหน้าที่พิจารณาทบทวนคำสั่งได้ทั้งปัญหาข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย อาจเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งฯไปในทางใด ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มภาระหรือลดภาระ หรือใช้ดุลพินิจแทนในเรื่องความเหมาะสมของการทำคำสั่งฯ สำนักวิจัยและวิชาการ
แผนผังการพิจารณาอุทธรณ์ (อุทธรณ์ ๒ ชั้น) เจ้าหน้าที่ ๒ ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์พิจารณาภายใน ๓๐ วัน ขยายอีกไม่เกิน ๓๐ วัน คู่กรณี ๙๐ วัน ๑ เจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่งฯ พิจารณาภายใน ๓๐ วัน ยื่นอุทธรณ์ภายใน ๑๕ วัน สำนักวิจัยและวิชาการ
หมวด ๒ คำสั่งทางปกครอง ส่วนที่ ๖ การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง ขั้นที่ ๔ การทบทวนคำสั่งทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองการเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ
การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองการเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง • เจ้าหน้าที่หรือผู้บังคับบัญชาอาจเพิกถอนคำสั่งฯได้ ไม่ว่าจะพ้นขั้นตอนการกำหนดอุทธรณ์แล้วหรือไม่ • การเพิกถอนคำสั่งฯที่ให้ประโยชน์ ต้องกระทำใน 90 วันนับแต่วันที่รู้ถึงเหตุที่จะเพิกถอน เว้นแต่คำสั่งได้ทำขึ้นเพราะ • ปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง • การแสดงข้อความอันเป็นเท็จ • ข่มขู่ • ชักจูงโดยการให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่มิชอบ สำนักวิจัยและวิชาการ
การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย • คำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ที่ไม่ได้ให้ประโยชน์ • อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วน • ให้มีผลย้อนหลัง ไม่ย้อนหลัง หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได้ • คำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งเป็นการให้เงิน ทรัพย์สิน หรือให้ประโยชน์ที่อาจแบ่งแยกได้ (1) ให้คำนึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของ ผู้รับประโยชน์ในความคงอยู่ของคำสั่ง กับ (2) ประโยชน์สาธารณะประกอบกัน สำนักวิจัยและวิชาการ
การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่ไม่ให้ประโยชน์การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่ไม่ให้ประโยชน์ ถูกเพิกถอน ทั้งหมด/บางส่วน คำสั่งไม่ชอบฯ เป็นภาระ มีผลย้อนหลัง ปัจจุบัน อนาคต สำนักวิจัยและวิชาการ
การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่ให้ประโยชน์ที่เป็นเงินหรือประโยชน์อื่นที่แบ่งแยกได้การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่ให้ประโยชน์ที่เป็นเงินหรือประโยชน์อื่นที่แบ่งแยกได้ กรณีเป็นเงินหรือประโยชน์ที่แยกได้ ไม่คุ้มครอง ไม่สุจริต ยังไม่ใช้ประโยชน์ คำสั่งไม่ชอบฯ เป็นคุณ สุจริต คุ้มครอง ใช้ประโยชน์ (1) ความเชื่อถือโดยสุจริตในความคงอยู่ของคำสั่ง (2) ประโยชน์สาธารณะ ชั่งน้ำหนัก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วน มีผลย้อนหลัง ปัจจุบัน หรืออนาคตก็ได้ ต้องเพิกถอนภายใน 90 วันนับแต่วันที่รู้เหตุฯ สำนักวิจัยและวิชาการ