1 / 25

5 ทศวรรษแห่งการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและสวัสดิการ สังคมในประเทศไทย โดย มัท นา พนานิรามัย

5 ทศวรรษแห่งการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและสวัสดิการ สังคมในประเทศไทย โดย มัท นา พนานิรามัย. หัวข้อ. นำเสนอแบบแผนการเปลี่ยนแปลงทางประชากรของนานาประเทศ แนวคิดว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ

kirkan
Download Presentation

5 ทศวรรษแห่งการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและสวัสดิการ สังคมในประเทศไทย โดย มัท นา พนานิรามัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 5 ทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและสวัสดิการสังคมในประเทศไทย โดย มัทนา พนานิรามัย

  2. หัวข้อ • นำเสนอแบบแผนการเปลี่ยนแปลงทางประชากรของนานาประเทศ • แนวคิดว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ • นำเสนอภาพการเปลี่ยนแปลงในจำนวนและโครงสร้างทางอายุ เพศและการศึกษาของประชากรในประเทศไทยในรอบ 5 ทศวรรษที่ผ่านมา • นโยบายด้านประชากรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • นำเสนอพัฒนาการของระบบสวัสดิการสังคมในประเทศไทย

  3. อัตราเกิดและอัตราตาย อัตราเกิด อัตราตาย ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 แบบแผนทั่วไปของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร (Demographic Transition)

  4. แนวคิดว่าด้วยผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจแนวคิดว่าด้วยผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ

  5. แนวคิดของฝ่ายที่เห็นว่าการเพิ่มของประชากรเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศแนวคิดของฝ่ายที่เห็นว่าการเพิ่มของประชากรเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ • “Essay on the Principal of Population”ในปี ค.ศ. 1798 • Maltusianpopulation trap หรือกับดักที่ดุลยภาพรายได้ต่ำ (Low-level equilibrium trap) • Neo-classical growth model • ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อการออมและการลงทุน • ทุนทางกายภาพ • ทุนมนุษย์

  6. แนวคิดของฝ่ายที่เห็นว่าการเพิ่มของประชากรไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศแนวคิดของฝ่ายที่เห็นว่าการเพิ่มของประชากรไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ • ผลด้านบวกของขนาดประชากร • การประหยัดจากขนาด • การแบ่งงานกันทำ • เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ที่นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของผลิตภาพแรงงานในที่สุด • บทความและหนังสือของบอสเซอรับ (Boserup 1965, 1981) และของจูเลียน ไซมอน (Julian Simon, 1981)

  7. The Revisionists The hallmark of this revisionism is not whether the net impact of population growth is assessed to be negative or positive. It is rather the way the analysis is undertaken: focusing on the longer run; accounting for feedbacks, direct and indirect effects; and admitting a wide range of impacts, both positive and negative. (A. Kelley ใน Population Matters หน้า 48)

  8. แนวคิดว่าด้วยผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากรแนวคิดว่าด้วยผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากร

  9. โครงสร้างครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโครงสร้างครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ พอลแลค(Pollak, 1985) กล่าวถึงบทบาทสำคัญ 3 ประการของครอบครัวในอดีตคือ • การผลิตสินค้าและบริการเพื่อการบริโภคเองภายในครัวเรือน • การเป็นหลักประกันซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิกของครอบครัวยามที่คนใดคนหนึ่งตกทุกข์ได้ยาก และ • การทำหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ความได้เปรียบและเสียเปรียบในการปฏิบัติภารกิจเหล่านี้ของครอบครัวเทียบกับสถาบันอื่นๆเป็นเช่นใด

  10. ภาวะเจริญพันธุ์และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภาวะเจริญพันธุ์และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดภาวะเจริญพันธุ์ • อุปสงค์ในบริการจากบุตร • อุปทานซึ่งขึ้นอยู่กับสุภาพ • การทดแทนกันระหว่างปริมาณและคุณภาพ

  11. การเปลี่ยนแปลงของประชากร ในประเทศไทย

  12. ตารางที่ 1 อัตราการเกิด การตาย อายุขัยโดยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดและภาวะเจริญพันธุ์มวลรวมในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2507-2549 • แหล่งข้อมูล: 1/ จากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากรปีต่างๆ สำนักงานสถิติแห่งชาติ • 2/ จากการคาดประมาณจำนวนประชากรประเทศไทย กองวางแผนทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2538

  13. ตารางที่ 2 จำนวนจริงและค่าคาดประมาณประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ ปี พ.ศ. 2503 - 2563 • แหล่งข้อมูล: ข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2503 – 2543 ได้จากสำมะโนประชากรปีต่างๆโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ส่วนหลังจากนั้นได้จากการคาดประมาณจำนวนประชากรประเทศไทย กองวางแผนทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2538

  14. ตารางที่ 3 จำนวนสมาชิกโดยเฉลี่ยในครัวเรือนส่วนบุคคลปี 2503-2543

  15. ตารางที่ 4 ร้อยละของครัวเรือนไทยจำแนกตามประเภทในปี พ.ศ. 2543 • แหล่งข้อมูล: การสำมะโนประชากรปี พ.ศ. 2543 • หมายเหตุ: ครัวเรือนขยายตามแนวตั้งหมายถึงครอบครัวที่มีคนมากกว่าสองรุ่นอยู่ร่วมกัน เช่นมีปู่ ย่า ตา หรือยายอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน ครัวเรือนขยายตามแนวนอนหมายถึงการที่คนรุ่นเดียวกันที่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ แต่มิใช่บุตร บุตรสะใภ้ หรือบุตรเขยอยู่ร่วมกันในครัวเรือน

  16. ตารางที่ 5 อัตราส่วนร้อยละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปที่เป็นโสดและอายุเมื่อแรกสมรสจำแนกตามเพศระหว่างปี 2503-2543 • หมายเหตุ: 1)ไม่รวมพระและผู้ไม่ทราบสถานภาพสมรส • 2) ไม่มีข้อมูลอายุเมื่อแรกสมรสสำหรับปี 2503 • แหล่งข้อมูล: สำมะโนประชากรและเคหะปีต่างๆ

  17. นโยบายด้านประชากรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  18. การปันผลทางประชากร (Population Dividend) • การปันผลทางประชากรระยะที่ 1 (First Population Dividend) เกิดขึ้นเพราะประเทศมีสัดส่วนของประชากรในวัยทำงานสูง ทำให้มีศักยภาพที่จะเพิ่มผลผลิตประชาชาติได้สูงด้วย • เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ และ • เกิดเพียงชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เพราะโครงสร้างทางอายุที่เอื้อเช่นนี้คงอยู่เพียงระยะหนึ่งแล้วโอกาสดีเช่นนี้ก็จะหมดไป • การปันผลทางประชากรระยะที่สอง (Second Population Dividend) เกิดจากศักยภาพการออมของประชากรวัยทำงานสูงขึ้นเพราะมีภาระลดลง • ไม่ได้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ แต่ขึ้นอยู่กับระบบประกันชราภาพ • แต่ถ้าเกิดขึ้นแล้วจะมีผลดีต่อเนื่องยาวนานกว่า

  19. พัฒนาการของสวัสดิการสังคมในประเทศไทยพัฒนาการของสวัสดิการสังคมในประเทศไทย

  20. กลไกด้านการเงินในการสร้างสวัสดิการสังคมกลไกด้านการเงินในการสร้างสวัสดิการสังคม วิธีการจำแนกผ่านกลไกหรือเครื่องมือที่ใช้ • การออม • การประกันภัย • การสงเคราะห์ ทั้ง 3 รูปแบบสามารถกระทำผ่านสถาบันต่างๆในสังคม เช่น ครอบครัว ชุมชน ภาคธุรกิจทั้งที่แสวงกำไรและไม่แสวงหากำไร หรือผ่านรัฐบาล หรือจำแนกเป็นภาคทางการและไม่ทางการ

  21. ประเภทของสวัสดิการภาคทางการประเภทของสวัสดิการภาคทางการ • ด้านการรักษาพยาบาล • การว่างงาน • การสูงอายุ

  22. สวัสดิการภาคทางการ • โครงการสำหรับข้าราชการและลูกจ้างประจำของรัฐ • ด้านการรักษาพยาบาล • ด้านหลักประกันการว่างงาน • ด้านหลักประกันชราภาพ บำนาญและบำเหน็จจาก กบข. • โครงการสำหรับลูกจ้างเอกชน • พรบ. ประกันสังคม • พรบ. กองทุนเงินทดแทน • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • โครงการสำหรับประชากรกลุ่มที่ไม่ถูกครอบคลุมจากโครงการทั้งสองข้างต้น

  23. สวัสดิการภาคทางการ • โครงการสำหรับประชากรกลุ่มที่ไม่ถูกครอบคลุมจากโครงการทั้งสองข้างต้น • การรักษาพยาบาล • การสูงอายุ • เบี้ยยังชีพ • กอช.

  24. ขอบคุณสำหรับการรับฟังขอบคุณสำหรับการรับฟัง

More Related