1 / 28

สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. เนาวรัตน์ บุญรักษ์.  งานวิจัย ต่างประเทศ 5 เรื่อง  งานวิจัย ไทย 5 เรื่อง. งานวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพ. ขอบเขตการนำเสนอ.

kirkan
Download Presentation

สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนาวรัตน์ บุญรักษ์

  2. งานวิจัย ต่างประเทศ 5 เรื่องงานวิจัย ไทย 5 เรื่อง งานวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพ ขอบเขตการนำเสนอ

  3. การใช้ระบบข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์และสถิติในการสำรวจถึงความต้องการการบริการทางการแพทย์แบบเร่งด่วน ของเมืองหนึ่งในซัดเบอรี่ เมืองออนตาริโอ วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง EMS ที่เป็นการเรียกใช้บริการทางการแพทย์แบบเร่งด่วนกับสถิติจำนวนประชากร ปัจจัยเศรษฐกิจและสังคม ภูมิศาสตร์ (โครงสร้างของเมือง) โดยทำการวิจัยถึงเมืองหนึ่งใน ออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ส่วนหนึ่งของการวิจัยในพื้นที่ที่มีความต้องการ EMS นั้นพบว่าความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นแบบสมการถดถอย อย่างไรก็ตามความแตกต่างกันก่อนการทำงาน กล่าวคือเกิดมีความสัมพันธ์กันเองโดยอัตโนมัติในการเรียกร้องความเป็นอิสระเพื่อกลับคืนที่เหมือนเดิม การใช้ระบบข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์หรือข้อมูลของ EMS คือ โครงสร้างทางธรณีวิทยา ซึนำไปเป็นข้อมูลสำมะโนประชากรจำนวน 1996 ครัวเรือน โปรแกรมการวิเคราะห์ได้นำมาใช้ในโครงสร้าง และการนำเสนอเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค ภายหลังจากการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับความถดถอยในทีละขั้นและลักษณะเฉพาะของความสัมพันธ์กันเองโดยอัตโนมัติในการอธิบายถึงความหลากหลาย การผสมผสานกับรูปแบบของความถดถอย ความหลาหลาย กล่าวคือ จำนวนร้อยละของประชากรที่อาศัยอยู่ตามลำพัง และลักษณะความล้าหลังของ จำนวนร้อยละของผู้อาศัย ในอพาร์ทเมนท์ ความล้าหลังของจำนวนประชากรที่มีอายุระหว่าง 20-64 ปี จำนวน52 % ของความหลากหลายของ ในการใช้บริการ EMS ต่อ ประชากร 1,000 คน ความชัดเจน ในความต้องการถึงความหลากหลายของบริการ EMS นั้นมาจาก สถานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งที่อยู่ในชุมชน และความหลากหลายที่มีส่วนน้อย คือ ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับสถิติประชากร และปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนายุทธวิธีของแหล่งข้อมูลที่แท้จริงที่สามารถจัดเตรียมไว้ต่อความจำเป็นในการให้บริการ EMS รวมทั้ง การป้องกันการบาดเจ็บและการส่งเสริมด้านสุขภาพได้กลายเป็นเป้าหมายของกลุ่มและพื้นที่ที่จำเป็นต่อการช่วยเหลือของการวิเคราะห์ถึงความต้องการของบริการEMS Lefebvre, Marc. (2004) Using GIS and spatial statistics to explore and model demand for emergency medical services in the city of Sudbury, Ontario. Wilfrid Laurier University (Canada). Canada.

  4. การใช้การการทำแผนผังเพื่อการประเมินถึงการปฏิบัติงานในการส่งเสริมด้านสุขภาพและการริเริ่มการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บในโบสถ์African American การวิจัยนี้เกี่ยวกับการทำแผนผังโบสถ์ African American โบสถ์ที่ได้เลือก 2 โบสถ์ที่จัดว่าอยู่ในพื้นที่ด้อยพัฒนาและอยู่ในละแวกเดียวกับ New Heaven ที่ถูกควบคุมในด้านจิตใจ การบริการทางสังคม การส่งเสริมด้านสุขภาพและการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ (HPDP) และสถานพยาบาลของโบสถ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจัดทำแผนผังที่ถูกควบคุม 2 ระดับของโบสถ์ African American คือ 1. การประเมินการจัดการด้านทรัพย์สินของโบสถ์ 2. การประเมินด้านทรัพย์สินส่วนบุคคลของสมาชิกของโบสถ์ สำหรับองค์กร บาทหลวงหลายท่านได้รายงานถึงแหล่งที่มาที่หลากหลายเพื่อเป็นฐานข้อมูลของโบสถ์นั้นคือ HPDP แต่ได้รับความสนใจน้อยในปัจจุบัน สมาชิกของโบสถ์ได้ให้ความสนใจในเรื่องจิตใจและทักษะการบริการสังคม และสนใจในฐานข้อมูลHPDP ของโบสถ์แต่ไม่สนใจที่จะเข้าร่วม ดังนั้นในปัจจุบัน จึงมีศาสนิกชนจำนวนน้อยที่สมัครใจเข้าช่วยก่อตั้งโบสถ์แบบ HPDP ท่ามกลางโบสถ์ที่เป็นตัวแทน Kim,Paulina ( 2004 ) Using assets mapping to assess capacity for holistic health promotion and disease prevention initiatives among African American churches. Southern Connecticut State University, United States

  5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความพึงพอใจในหน้าที่การงาน และสุขภาพของลูกจ้างใน สถานศึกษา การวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในการทำงาน ความพึงพอใจในหน้าที่การงาน และสุขภาพในสถานศึกษา การวิจัยได้อธิบายและเปรียบเทียบระหว่างนักวิชาการ กับกลุ่มผู้บริหาร ในด้านสภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจในหน้าที่การทำงาน และด้านสุขภาพ และได้ควบคุมในบางส่วนเพื่อการวิเคราะห์ที่สัมพันธ์กันคือ ( อายุ เพศ รายได้ การศึกษา ) เพื่อที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างกัน พบว่าหน้าที่การงานมีความสัมพันธ์อย่างมากต่อสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนการศึกษาดังกล่าวคือ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในหน้าที่การทำงานและสุขภาพ ในด้านจิตวิทยาสังคมพบว่าความสัมพันธ์ทางด้านความพึงพอใจหน้าที่การทำงานและสุขภาพจิตนั้นสำคัญแต่ไม่สัมพันธ์กับสุขภาพทางร่างกาย หน้าที่การทำงานมีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตแต่ไม่สัมพันธ์กับสุขภาพทางร่างกายเช่นกัน ผลของการวิจัยในครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงการส่งเสริมด้านสุขภาพในที่ทำงานเป็นสิ่งจำเป็นที่ได้รับการยอมรับว่าสุขภาพของลูกจ้างจะดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมด้วยเช่นกัน Zilinski, Joyce K. (2004). Work environment, job satisfaction and employee health in an academic setting. University of Alberta. Canada

  6. ความร่วมมือของโรงเรียนนำร่องในโครงการวิจัยเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพร่างกาย ทัศนคติส่วนบุคคล และพฤติกรรมการรับประทาน ในสมัยก่อนการบริการด้านสุขภาพจิต ได้ถูกวางแผนไว้เพื่อรักษาในกรณีที่มีปัญหาเกิดขึ้น จิตแพทย์จึงได้เริ่มคิดตระหนักถึงความสำคัญที่จะส่งเสริมและป้องกันองค์ประกอบที่สำคัญ การอยู่ให้ห่างจากความเจ็บป่วยที่มีอิทธิพลมาจากการขาดการควบคุมด้านการบริโภค ประเด็นนี้ได้มีการพิสูจน์และโต้แย้งกันขึ้น ผู้ค้นคว้าได้ทำการเขียนวิจารณ์ข้อสรุปของสิ่งที่ได้พิสูจน์กันไปแล้ว และคำแนะนำสำหรับการประเมินค่า การวิจัยนี้เป็นการตรวจสอบถึงความผิดปกติในด้านการวางแผนในการบริโภค เพื่อที่จะเป็นสะพานเชื่อมระหว่างความเชื่อในด้านการป้องกันทางด้านการบริโภค และแนวคิดใหม่ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การศึกษาวรรณคดีเบื้องต้น หากใช้วิธีการรวมกันทั้งในด้านปริมาณและด้านคุณภาพ กรณีศึกษาประสิทธิภาพของฐานการป้องกัน รูปแบบลักษณะของนักศึกษา ทัศนคติส่วนบุคคล และพฤติกรรมด้านการบริโภค โดยการทดลองให้นักศึกษา ผู้ปกครอง และอาจารย์เข้าร่วมกัน โดยผลที่ได้จะนำไปสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ โดยให้กลุ่มสังคมเป็นพื้นฐานเพื่อที่จะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย โดยให้กลุ่มโรงเรียน เป็นตัวแทน Russell-Mayhew, Michelle (Shelly) K . (2003). Collaborative school pilot research project to promote heath body image, personal attitudes, and eating behaviors. University of Calgary. Canada.

  7. การลดน้ำหนักของผู้ใหญ่และความสัมพันธ์ในเรื่องของน้ำหนักตัว : การสำรวจด้านสุขภาพทางโภชนาการและหัวใจในเมืองPeel ปัจจัยที่มีอัตราความเสี่ยงสำหรับโรคที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ในผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกิน หมายถึงปัญหาสุขภาพประชาชนในแคนนาดา เกี่ยวกับการควบคุมอาหารนิสัยใน การบริโภคเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวและโรคอ้วน การลดความอ้วนแถบ เมดิเตอเรเนียนคือ การมีลักษณะนิสัยโดยการกินน้ำมันมะกอก,ผลไม้และผัก อาหารที่มีส่วนผสมของข้าวสาลี,ผัก,ปลาและไก่งวง การบริโภคไวน์อย่างพอเหมาะ เป็นตัวบ่งชี้อย่างคร่าวๆ เป็นการ ควบคุมอาหารอย่างฉลาดเป็นระบบ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการเสี่ยงต่อการเป็นโรค CVD น้อยลง การควบคุมอาหารแบบเมดิเตอเรเนียน คือ ได้มีการตรวจสอบอย่างไม่มีรูปแบบโดยเลือกสุ่มจำนวนประชากรจากผู้ใหญ่จำนวน 759 คน อายุ 18-65 ปี ในเมือง Peel สังคมที่มีหลายชนชาติใกล้เคียงกับเมืองโตรอนโต ,ใช้โทรศัพท์สอบถามในการสำรวจ โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ ของคุณสมบัติอาหารที่แสดงให้เห็นอยู่บ่อยๆ ว่ามี อิทธิผลอาหารที่รวมเข้าไปในร่างกายอย่างต่ำ 6 อย่าง และแบบควบคุมอาหารอย่างสูง 2 อย่าง การควบคุมอาหารในระบบ M ได้รับผลสะท้อนอย่างสูงในการบริโภคผลไม้และผัก ,น้ำมันมะกอก และกระเทียม, ปลาและปลาทะเล และที่ไม่เป็นไปตามระบบ M ได้รับผลสะท้อนคืออาหารขยะ ,เนื้อ,ไก่งวง, อาหารที่มีรสหวาน คะแนน M สูงสุดส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิง, ครอบครัวที่มีรายได้สูง,กลุ่มที่มีการศึกษาสูง, อายุมาก อิทธิผลของระบบ M ขึ้นอยู่กับสภาวะน้ำหนัก สัดส่วนของร่างกายที่แสดงออกมาชัดเจน ได้รับการตรวจสอบโดยการวิเคราะห์ความเสื่อมถอยหลายอย่างด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก่อนสำหรับอิทธิผลของสถิติสังคมประชากร (อายุ,เพศ,การได้รับการศึกษา,รายได้ของครอบครัวและสถานภาพครอบครัว) ระดับคะแนนที่ระบบ M ได้คาดเดาเอาไว้เป็นกลุ่มต่ำสุดของ BMI เป็นกลุ่มที่มีอายุ 40-49 ปีเท่านั้น ผลของการสืบผลได้แนะนำว่า โปรแกรมการประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพเกี่ยวกับหัวใจนั้นควรจะนำไปสู่การลดน้ำหนักได้ดีขึ้น ซึ่งเป็นนิสัยของคนในช่วงอายุนี้เท่ากับเป็นจุดมุ่งหมายของประชากรส่วนใหญ่ Shubair, Mamdouh Mohamed. (2003). Adult dietary patterns and their relationship to body weight status : The Peel nutrition and heart health survey. University of Waterloo. Canada.

  8. การประเมินผลการบริการภายใต้โครงการการประเมินผลการบริการภายใต้โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษา จังหวัดพิษณุโลก อรทัย เขียวเจริญ ( 2546 )

  9. วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลการบริการภายใต้โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 4 ด้านคือ * บริบท * ปัจจัยนำเข้า * กระบวนการดำเนินงาน * ผลผลิต

  10. กลุ่มตัวอย่าง * ผู้บริหาร + หัวหน้างาน 25 คน * ผู้ให้บริการ 621 คน * ผู้รับบริการ 1,000 คน * ประชาชนระดับครัวเรือน 450 คน

  11. การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัดส่วน อัตราส่วน

  12. ผลการศึกษา บริบท : ผู้ให้บริการเข้าใจต่อโครงการในระดับดี เห็นด้วยระดับปานกลาง ปัจจัยนำเข้า : งบประมาณไม่เพียงพอ ขาดแคลนบุคลากร กระบวนการดำเนินงาน : การจัดสรรงบประมาณเหมาจ่ายรายหัว มีการจัดตั้ง PCU ร้อยละ 68.18 มีการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้อยละ 60 ผลผลิต : ประชาชนมีหลักประกันเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 91.53 : ประชาชนมีการเข้าถึงบริการ ร้อยละ 93.6 : จำนวนผู้ป่วยไปรับบริการ ที่ สถานีอนามัยเพิ่มขึ้น ไปรับบริการที่ โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลชุมชน ลดลง

  13. พฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของประชาชนในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อ.บางกรวย จ.นนทบุรี โดย….สุรศักดิ์ เนียมปาน ( 2544 )

  14. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของประชาชน กลุ่มตัวอย่าง ประชาชนถือบัตรประเภท 30 บาท จำนวน 631 คน สุ่มจากทะเบียนผู้ถือบัตรทอง

  15. การเก็บข้อมูล : แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล :ไคสแควร์ ผลการศึกษา • ประชาชนไปใช้บริการ ผู้ป่วยนอก ร้อยละ 60.3 เฉลี่ย 2.7 ครั้ง / คน • ผู้ป่วยใน ร้อยละ 0.48 เฉลี่ย 1 ครั้ง / คน • การใช้บริการรักษา+ฟื้นฟูสภาพ มากที่สุด ( ร้อยละ 87.2 ) • ปัจจัยด้านอาชีพ รายได้ ความพึงพอใจการรับรู้สิทธิประโยชน์ ปัจจัย สนับสนุน มีความสัมพันธ์กับการไปใช้บริการสุขภาพ

  16. โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจทำประกันสุขภาพกับบริษัทประกันภัย กรณีศึกษา : บริษัทไทยประกันชีวิต โดย….สุมาลี ทัศทอง ( 2544 )

  17. วัตถุประสงค์ * ศึกษาหลักการของโครงการ 30 บาท * เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการใช้บริการสุขภาพ ระหว่าง บัตรทอง กับ ประกันชีวิต * เพื่อศึกษาระดับคุณภาพบริการของสถานพยาบาล

  18. ประชากรที่ศึกษา : ประชากรในเขตพระโขนง + เขตตลิ่งชัน กทม. เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด

  19. ผลการศึกษา * ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เพศหญิง สถานภาพโสด รายได้ <20,000 บาท / เดือน * ปัจจัยที่ทำให้ซื้อกรมธรรม์ประกันภัย คือ การคำนึงถึงสุขภาพ ต้องการคุ้มครองสิทธิสูญเสียอวัยวะ+ทุพพลภาพ โรคร้ายแรง ค่ารักษาพยาบาลรายวัน

  20. การรับสารสนเทศ ด้านสิทธิประโยชน์ตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของผู้ป่วยที่มารับบริการ : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลชัยภูมิ ปิยนุช ญาติบำรุง ( 2544 )

  21. วัตถุประสงค์ * ศึกษาการรับสารสนเทศของประชาชน * ศึกษาความต้องการสารสนเทศของประชาชน * ปัญหาในการรับสารสนเทศด้านเนื้อหา + สิทธิประโยชน์

  22. กลุ่มตัวอย่าง * ผู้ป่วยที่มารับบริการ PCU โรงพยาบาลชัยภูมิ 200 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล * แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล * ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  23. ผลการศึกษา * ส่วนใหญ่เพศหญิง อายุ 40 - 49 ปี * ระดับประถมศึกษา อาชีพการเกษตร * รายได้ : เดือน 2,000 - 4,999 บาท / เดือน * รับสารสนเทศด้านเนื้อหาจากสื่อมวลชน คือ โทรทัศน์ * ความต้องการส่วนใหญ่ต้องการจากแหล่งสารสนเทศแหล่งบุคคล * ปัญหาสารสนเทศบุคคล เป็นปัญหาระดับปานกลาง

  24. ความคิดเห็นของผู้ประกันสุขภาพต่อคุณภาพบริการด้านหน้า โรงพยาบาล ดำเนินสะดวก สมพล เนียมหลาง ( 2544 )

  25. วัตถุประสงค์ * เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อคุณภาพบริการด้านหน้าของผู้ประกันสุขภาพ * เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อคุณภาพบริการระหว่างผู้มีบัตรประกันสุขภาพ บัตรประกันสังคม และผู้สูงอายุ

  26. เครื่องมือที่ใช้ศึกษาเครื่องมือที่ใช้ศึกษา แบบสอบถาม วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล สุ่มตัวอย่างแบบโควต้า จำนวน 370 ราย การวิเคราะห์ข้อมูล * ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน * ANOVA , ANCAVA

  27. ผลการศึกษา * ค่าเฉลี่ยสูงสุด ด้านการให้ความรู้ คำแนะนำให้คำปรึกษา ( ร้อยละ 77.5 ) * ความคิดเห็นระหว่างผู้มีบัตรประกันสุขภาพ บัตรประกันสังคม ผู้สูงอายุ มีความคิดเห็นแตกต่างกัน

  28. สวัสดี

More Related