1 / 27

ก ารดำเนินงานของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ ด้านการเกษตร : ปัญหาและอุปสรรค

ก ารดำเนินงานของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ ด้านการเกษตร : ปัญหาและอุปสรรค. เบญจวรรณ จำรูญพงษ์ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร. ประเทศไทย : ความปลอดภัยทางชีวภาพด้านพืช. 22 ม.ค. 36 คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพ

Download Presentation

ก ารดำเนินงานของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ ด้านการเกษตร : ปัญหาและอุปสรรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร :ปัญหาและอุปสรรค เบญจวรรณ จำรูญพงษ์กองคุ้มครองพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร

  2. ประเทศไทย :ความปลอดภัยทางชีวภาพด้านพืช • 22 ม.ค. 36 คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพ • 15 ธ.ค. 36 คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพด้านเกษตร • 18 ต.ค. 42 มติ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ (กนศ.)

  3. มติ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (กนศ.) • ห้ามการนำเข้ามาเพาะปลูกในเชิงพาณิชย์ • อนุญาตให้นำเข้าเฉพาะเพื่อทดลองวิจัยเท่านั้น • ใช้ พรบ. กักพืช พ.ศ. 2507 กำกับดูแล

  4. สถานภาพด้านกฎหมาย • พรบ กักพืช พ.ศ. 2507 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. กักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 : กำกับดูแล การนำเข้าพืชที่เป็น GMOsเพื่อการทดลองวิจัยเท่านั้น • พรบ. คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 : พืช GMOs ที่จะขอรับการคุ้มครองเป็นพันธุ์พืชใหม่จะต้อง ผ่านการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ ต่อสิ่งแวดล้อม • พรบ.วัตถุอันตรายพ.ศ. 2535 : การนำเข้าหรือนำผ่านจุลินทรีย์ GMOs

  5. สถานภาพด้านกฎหมาย • พรบ. การส่งออกไปนอกและนำเข้ามาใน ราชอาณาจักร ซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 : กำกับ ดูแล การนำเข้าพืชที่เป็น GMOs • ที่ใช้เป็นอาหารสำเร็จรูป • ข้าวโพดและถั่วเหลืองที่ใช้เป็นวัตถุดิบ • พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522 : กำกับ ดูแล ตรวจสอบ วิเคราะห์ และออกใบรับรองสินค้าอาหารและ ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปแล้ว

  6. การดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตรการดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตร • พรบ กักพืช พ.ศ. 2507 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. กักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 : • ป้องกัน “อันตราย” จาก โรค แมลง และศัตรูพืชที่ร้ายแรง มิให้เข้ามาแพร่ระบาดในประเทศ จากการติดเข้ามากับพืช และผลิตผลพืชที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ • พืชตัดต่อสารพันธุกรรม เป็น “สิ่งต้องห้าม” ตาม พรบ. • มาตรการด้านการนำเข้า • มาตรการด้านการส่งออก

  7. การนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม • ประกาศ กษ เรื่อง กำหนดพืชจากแหล่งที่กำหนดเป็น สิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้น และเงื่อนไข ฯ ประกาศ ณ วันที่ 17 มี.ค. 43: รายชื่อพืช 40 ชนิดเป็นสิ่งต้องห้าม • ประกาศ กษ ณ วันที่ 14 ต.ค. 46 เพิ่มเติมอีก 49 ชนิด • ประกาศกรมฯ เรื่อง กำหนดแนวทางปฏิบัติในการ ขออนุญาตนำเข้าหรือนำผ่าน ซึ่งสิ่งต้องห้าม ฯ ประกาศ ณ วันที่ 7 มี.ค. 44 • คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

  8. ตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้ามตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้าม

  9. ตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้ามตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้าม

  10. แผนภูมิขั้นตอนการขออนุญาตนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการขออนุญาตนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ยื่นคำขออนุญาตนำเข้า (แบบ พ.ก.1) ตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบคำขอ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปเสนอ ความเห็น : อนุญาต/ไม่อนุญาต : คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตรเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรมวิชาการเกษตร อนุญาตให้นำเข้า (แบบ พ.ก.2) ไม่อนุญาตให้นำเข้า นำเข้า

  11. แผนภูมิขั้นตอนการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม พืชที่ได้รับอนุญาตให้นำเข้า ต้องมีใบรับรองปลอดศัตรูพืช แจ้งนำเข้าก่อน 60 วัน นำเข้าได้ทางด่านตรวจพืช 3 ด่าน 1. ดพ. ท่าเรือกรุงเทพ 2. ดพ. ไปรษณีย์ 3. ดพ. ท่าอากาศยานกรุงเทพ หีบห่อสิ่งต้องห้ามส่งตรงถึงอธิบดีฯ ตรวจสอบโรคศัตรูพืชที่สำคัญทางกักกันพืช

  12. แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ผู้รับอนุญาตให้นำเข้าสิ่งต้องห้าม เสนอแผนการทดลองในโรงเรือน/ในแปลงทดลอง คณะทำงานตรวจสอบความปลอดภัยทางชีวภาพภาคสนาม ติดตาม/ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำด้านการจัดการ ทดลองและรายงานสรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณา รายงานสรุปผลการตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เสนอความเห็นต่อกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร เสนอข้อคิดเห็นว่าสมควรยกเลิกพืชนั้น ๆ จากการเป็นสิ่งต้องห้าม หากเห็นว่ามีความปลอดภัยทางชีวภาพ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการกักพืช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณากำหนดยกเลิกการเป็นสิ่งต้องห้าม

  13. แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ผู้รับอนุญาตให้นำเข้าสิ่งต้องห้าม เสนอแผนการทดลองใน โรงเรือน/ในแปลงทดลอง คณะทำงานตรวจสอบความปลอดภัย ทางชีวภาพภาคสนาม ติดตาม/ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำ ด้านการจัดการทดลองและ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน

  14. คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์ ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณา รายงานสรุปผลการตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เสนอความเห็นต่อกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการความปลอดภัย ทางชีวภาพด้านการเกษตร

  15. เสนอข้อคิดเห็นว่าสมควรยกเลิกพืชนั้น ๆ จากการเป็นสิ่งต้องห้าม หากเห็นว่ามีความปลอดภัยทางชีวภาพ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการกักพืช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิจารณากำหนดยกเลิกการเป็นสิ่งต้องห้าม

  16. แนวทางการทดสอบเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพแนวทางการทดสอบเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ • ขั้นตอนที่ 1: -> ภายในโรงเรือน/ห้องปฏิบัติการ ปิดมิดชิดอย่างน้อย 1 ฤดูปลูก • ขั้นตอนที่ 2: ต้องผ่านขั้นตอนที่ 1 ->แปลงทดลอง ขนาดเล็กที่ควบคุมสภาพ อย่างน้อย 1 ฤดูปลูก • ขั้นตอนที่ 3: ต้องผ่านขั้นตอนที่ 1 และ 2 ->สภาพแปลงใหญ่

  17. ศึกษาผลกระทบ • การเปลี่ยนแปลงลักษณะด้านสัณฐานวิทยาของพืช • ระบบสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ • การเป็นวัชพืช • ผลกระทบต่อวัชพืชที่อยู่ข้างเคียงและพืชปลูกตาม • จุลินทรีย์ในดิน • แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่น • การผสมข้าม • การศึกษาอื่นๆ ตามความเหมาะสม

  18. พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย

  19. พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย

  20. พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย

  21. พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย

  22. พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย

  23. ปัญหาและอุปสรรค ด้านนโยบาย • มติคณะรัฐมนตรี 3 เมษายน 2544 • ยุติการทดสอบในไร่นา • กฏหมายว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ

  24. ปัญหาและอุปสรรค ด้านการบังคับใช้กฎระเบียบ • สับปะรดดัดแปลงพันธุกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล นครศรีธรรมราช • 19 มีนาคม 2545 ยื่นเรื่องขออนุญาต • 27 มีนาคม 2545 อนุญาตนำเข้า เป็น “สิ่งกำกัด” • 14 ตุลาคม 2546 ประกาศกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็น “สิ่งต้องห้าม”

  25. ปัญหาและอุปสรรค ด้านการยอมรับของสาธารณชน • ทำไมต้องพืชดัดแปลงพันธุกรรม ? • ต้านทานต่อสารกำจัดศัตรูพืช จริงหรือ ? • คุณค่าทางโภชนาการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ? • ปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ?

More Related