1 / 39

“ การประกันคุณภาพ สถานรับเลี้ยงเด็ก ” ( Quality Assurance for Child Care Center )

“ การประกันคุณภาพ สถานรับเลี้ยงเด็ก ” ( Quality Assurance for Child Care Center ). โดย รองศาสตราจารย์ ดร . พิทยา ภรณ์ มานะจุติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฎ เชียงใหม่. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542. มาตรา 13 ( 1 ) ผู้ปกครองมีสิทธิในการอบรมเลี้ยงดูและ ให้การศึกษาแก่บุตร

kiona-estes
Download Presentation

“ การประกันคุณภาพ สถานรับเลี้ยงเด็ก ” ( Quality Assurance for Child Care Center )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “การประกันคุณภาพ สถานรับเลี้ยงเด็ก”(Quality Assurance for Child Care Center) โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พิทยาภรณ์ มานะจุติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

  2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 13 (1)ผู้ปกครองมีสิทธิในการอบรมเลี้ยงดูและ ให้การศึกษาแก่บุตร มาตรา 14 (1) บุคคลและองค์กรที่สนับสนุนการจัด การศึกษามีสิทธิได้รับการสนับสนุนจากรัฐ มาตรา 18 จัดการศึกษาปฐมวัย 3 ลักษณะ 1. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2. โรงเรียน 3. ศูนย์การเรียนรู้

  3. มาตรา 47ให้มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย - ระบบประกันคุณภาพภายใน (ใช้มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก : สท) - ระบบประกันคุณภาพภายนอก (ใช้มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา : สมศ.)

  4. การประกันคุณภาพภายนอก(External Quality Assurance) • ประเมินและรับรองโดย สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) • เน้นคุณภาพของเด็ก 2 – 5 ปี • ทำการประเมินมาแล้ว 2 วงรอบ วงรอบต่อไปคือวงรอบที่ 3 (2554 - 2558)

  5. ประกอบด้วย 12 ตัวบ่งชี้ • อิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา • ประเมินผลโดยสอดคล้องกันระหว่างการจัดการศึกษา และการเรียนการสอน • ประเมินข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและเชิง ประจักษ์ • ประเมินเพื่อยืนยันผลประเมินของผู้รับประเมิน • สามารถเทียบตัวบ่งชี้และมาตรฐานระหว่างการประเมิน ภายนอกและภายในได้

  6. การประกันคุณภาพภายใน(Internal Quality Assurance) • ดำเนินการส่งเสริมกับตัวบ่งชี้ 8.1 ของการประกัน คุณภาพภายนอก “ระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยในสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา” • ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 14 ตัวบ่งชี้

  7. ศูนย์เด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาประเภทหนึ่ง • ความสำเร็จของระบบประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก (รวม การประเมิน คุณภาพการศึกษาและการพัฒนา คุณภาพ การศึกษา)

  8. เกณฑ์พิจารณาในการประเมินเกณฑ์พิจารณาในการประเมิน • การวางแผนปฏิบัติงาน (Action plan) ที่ครอบคลุม ทุกปัจจัยรวมถึงระบบบริหารและสารสนเทศ • การปฏิบัติตามแผน นิเทศ ติดตาม ประเมินและพัฒนา โดยจัดทำรายงานประเมิน (Salt Assessment Report) • การนำผลประเมินไปปรับปรุง • ประเมินการมีส่วนร่วม การตรวจสอบถ่วงดุล และเสนอ ผลลัพธ์ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

  9. มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ มาจากไหน ? • ความตื่นตัวของหน่วยงาน ภาครัฐและ เอกชน ในการเปิดกิจการศูนย์เด็กเล็ก เพื่อ การให้บริการแก่ครอบครัวในการเลี้ยงดูเด็ก • การทำหน้าที่ของสถาบันทางสังคมโดย ผู้เชี่ยวชาญ

  10. การกำหนดกรอบมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ ฯ เพื่อควบคุมคุณภาพการให้บริการเป็นเรื่องที่สำคัญและ ต้องดำเนินงาน  การตอบสนองสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กในการได้รับการ ดูแลที่มีคุณภาพ

  11. กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการยกระดับศูนย์เด็ก เล็กให้เป็นรูปธรรม ตามนโยบายสำคัญของรัฐ • สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ (สท.)ได้รับมอบหมายให้ ประสานการจัดทำ มาตรฐานกลางที่เป็นของชาติ

  12. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จัดทำ (ร่าง) มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กและทดลองใช้ • มีการปรับมาตรฐานให้สอดคล้องกับระบบการประเมิน ของ สมศ. โดยผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ ร่วม พิจารณาและปรับปรุง

  13. หน่วยงานที่มีส่วนในการพิจารณามาตรฐานหน่วยงานที่มีส่วนในการพิจารณามาตรฐาน • กรมอนามัย (กระทรวงสาธารณสุข) • กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (มหาดไทย) • กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ • สำนักพัฒนาสังคม (กทม.) • สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (ส.กศ.) • สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

  14. สถาบันการศึกษาที่มีส่วนร่วมจัดทำร่างมาตรฐานสถาบันการศึกษาที่มีส่วนร่วมจัดทำร่างมาตรฐาน • มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • สถาบันแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดล

  15. องค์ประกอบของเกณฑ์มาตรฐานองค์ประกอบของเกณฑ์มาตรฐาน ด้านที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี ด้านที่ 2กระบวนการบริการหรือการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของเด็กที่มีคุณภาพ ด้านที่ 3ประสิทธิผลจากการดำเนินงาน

  16. มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก การนำมาตรฐานไปใช้ดำเนินงาน กำกับโดยวงจร PDCA การประเมินตนเองตามมาตรฐาน โดยตนเอง : ภายใน โดย สมศ. : ภายนอก การนำผลประเมินมาปรับปรุง เริ่มวงรอบประเมิน วงรอบใหม่

  17. หลักการสำคัญของการประกันคุณภาพหลักการสำคัญของการประกันคุณภาพ  ทำความเข้าใจกับนิยามศัพท์ มาตรฐาน =แนวทางหรือเครื่องมือในการ ประเมินผลการดำเนินงาน ศูนย์เด็กเล็ก

  18. ศูนย์เด็กเล็ก= ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , สถานรับเลี้ยงเด็ก หรือชื่ออื่นๆ ครู= ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก ครูพี่เลี้ยง ที่ทำหน้าที่ ในการอบรมเลี้ยงดู พัฒนาการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการ เรียนรู้ ให้แก่เด็กตามวัย

  19. การประกันคุณภาพภายใน = การประเมินผลและติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยบุคลากรภายในสถานศึกษานั้นๆ หรือ โดยหน่วยงานต้นสังกัด การประกันคุณภาพภายนอก = การประเมินผลและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาโดยบุคคลหรือ หน่วยงานภายนอก (สำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา สมศ.)

  20. ตัวบ่งชี้ = ตัวประกอบ ตัวแปร ค่าที่สังเกตได้ ซึ่งบ่ง บอกสถานภาพหรือสะท้อนลักษณะการ ดำเนินงาน หรือผลการดำเนินงานที่ สามารถวัดและสังเกตได้ ทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพในประเด็นที่วัด

  21. เกณฑ์การพิจารณา= มาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ คุณภาพที่พัฒนาจาก เกณฑ์และแนวปฏิบัติที่ เป็นมาตรฐานเกณฑ์การพิจารณา= มาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ คุณภาพที่พัฒนาจาก เกณฑ์และแนวปฏิบัติที่ เป็นมาตรฐาน

  22. วงจรคุณภาพ PDCA ประกอบด้วย • การวางแผน (Plan) • การดำเนินงานตามแผน(Do) • การตรวจสอบประเมิน (Check) • การนำผลการประเมินมาปรับปรุงให้ดีขึ้น (Action)

  23. เด็กปฐมวัย = เด็กแรกเกิด – 5ปี 11 เดือน 29 วัน

  24. การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ระดับปฐมวัย • วัยแรกเกิด – 2 ปี • วัย 2-5 ปี

  25. การวางระบบกลไกการประกันคุณภาพการวางระบบกลไกการประกันคุณภาพ ระบบ (system) =การกำหนดรูปแบบวิธีการ ดำเนินงานที่เป็นขั้นตอนต่อเนื่อง ประกอบด้วยขั้น - ปัจจัยนำเข้า (Input) - กระบวนการ (Process) - ผลผลิต , ผลลัพธ์ (Output) - ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)

  26. กลไก (Mechanism)=การกำกับ ดูแล ผลักดัน ขับเคลื่อน ให้มีการดำเนินการตามระบบ โดย บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ได้รับ มอบหมายทั้งที่เป็นหรือไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร แต่ต้องมีร่องรอย หลักฐานการดำเนินงาน

  27. องค์ประกอบของระบบ • การวางกรอบงาน • การวางแผนปฏิบัติงาน • การจัดเตรียมเครื่องมือดำเนินงาน , คู่มือ • การออกคำสั่งแต่งตั้ง กรรมการดำเนินงาน • การกำหนดข้อบังคับ ระเบียบปฏิบัติ กฎต่างๆ

  28. องค์ประกอบของกลไก • การนิเทศ ติดตาม ประเมิน การดำเนินงาน • วาระการประชุมขับเคลื่อนงานและบันทึกการประชุม • เครื่องมือใช้ดำเนินงาน เครื่องมือใช้กำกับงานแบบมีส่วนรวม • การเก็บร่องรอยหลักฐานการดำเนินงาน (เอกสาร ภาพถ่าย สภาพจริง ผลงาน ชิ้นงาน) • การประเมินผลการดำเนินงานเพื่อตรวจสอบถ่วงดุล

  29. หัวใจของการประกันคุณภาพภายในหัวใจของการประกันคุณภาพภายใน • ความต่อเนื่อง • ความสม่ำเสมอ • การศึกษาและประเมินตนเอง • การสะท้อนภาพความสำเร็จการดำเนินงาน 3 ด้าน • การบริหารจัดการ • การจัดกระบวนการเรียนรู้ • คุณภาพเด็ก 4 ด้าน

  30. หลักสำคัญของการประกันคุณภาพภายในหลักสำคัญของการประกันคุณภาพภายใน ต่อเนื่อง ผสมผสาน การประกันคุณภาพภายใน ประเมินเพื่อพัฒนา ให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ

  31. วงจร PDCA • การวางแผน (Plan) • กำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ • นำผลประเมินมาปรับปรุง • จัดลำดับความสำคัญของมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ • กำหนดแนวทาง ระยะเวลา งบประมาณ และผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน

  32. 2. การดำเนินงานตามแผน (Do)  ส่งเสริม สนับสนุน  จัดสิ่งอำนวยความสะดวก / ทรัพยากร  กำกับติดตาม  ให้การนิเทศ

  33. 3. การตรวจสอบประเมินผล (Check) • วางกรอบการประเมิน • จัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ • เก็บข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • แปลความหมาย • ตรวจสอบ / ปรับปรุงคุณภาพประเมิน

  34. 4. นำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน • ปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากร • วางแผนระดับต่อไป • จัดทำข้อมูลสารสนเทศ

  35. 5. จัดทำรายงานประเมินตนเอง หรือรายงานประจำปี • รวบรวมผลการดำเนินงาน • วิเคราะห์ตามมาตรฐาน • เขียนรายงาน

  36. กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา(Quality Assurance) การควบคุมคุณภาพ (QualityControl) การตรวจสอบคุณภาพ (QualityAudit) การประเมินคุณภาพ (QualityAssessment)

  37. ประโยชน์ของการประกันคุณภาพประโยชน์ของการประกันคุณภาพ • ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ • ผู้ปกครองพึงพอใจในผลพัฒนาการเด็ก • ผู้บริหาร ครู บุคลากรในศูนย์ได้ใช้ความรู้และหลักวิชาอย่างถูกต้องเหมาะสม • ศูนย์ฯ บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมาย • ชุมชน ได้สร้างระบบการดูแลเด็กในชุมชนให้มีคุณภาพ • สังคมและประเทศชาติเข้มแข็ง

  38. เอกสารหลักที่สำคัญของการประกันคุณภาพเอกสารหลักที่สำคัญของการประกันคุณภาพ “รายงานการประเมินตนเอง” (Self Assessment Report : SAR)

  39. สาระสำคัญของ SAR • ข้อมูลพื้นฐาน • แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา • ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา • สรุปผลการพัฒนาและการนำไปใช้ • แนวทางการพัฒนาในอนาคต ด้าน • การบริหาร • การจัดกระบวนการเรียนรู้ • ด้านคุณภาพเด็ก

More Related