770 likes | 1.77k Views
การจัดทำแผนการสรรหาและเลือกสรร. ดร. ปัทมา สุขสันต์. ผลการสำรวจเกี่ยวกับการใช้งบประมาณและเวลาในการดำเนินงานภารกิจต่าง ๆ . กระบวนการการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร . ขั้นตอน. ผลลัพธ์. คำบรรยายลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งงาน. การวิเคราะห์งาน. การวางแผนบุคลากร. แผนงานบุคลากร.
E N D
การจัดทำแผนการสรรหาและเลือกสรรการจัดทำแผนการสรรหาและเลือกสรร ดร.ปัทมา สุขสันต์
ผลการสำรวจเกี่ยวกับการใช้งบประมาณและเวลาในการดำเนินงานภารกิจต่าง ๆ
กระบวนการการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร ขั้นตอน ผลลัพธ์ คำบรรยายลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งงาน การวิเคราะห์งาน การวางแผนบุคลากร แผนงานบุคลากร การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร กลุ่มผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม พนักงานใหม่ได้ทำงาน ซึ่งเหมาะสมกับคุณสมบัติ การจัดวางบุคคล
กระบวนการสรรหาบุคลากรกระบวนการสรรหาบุคลากร การวางแผนบุคลากร ผู้จัดการฝ่ายแจ้งขอ ตำแหน่งเป็นกรณีพิเศษ ระบุตำแหน่งงาน ที่ต้องการสรรหา การวิเคราะห์งาน ระบุข้อกำหนด เกี่ยวกับตำแหน่งงาน ความเห็น ผู้จัดการฝ่าย กำหนดวิธีการสรรหา กลุ่มผู้สมัครงานที่มี คุณสมบัติเหมาะสม
การพยากรณ์อุปสงค์และอุปทานในการวางแผนด้านบุคลากรขององค์การ การพยากรณ์อุปสงค์และอุปทานในการวางแผนด้านบุคลากรขององค์การ อุปสงค์(demand) อุปทาน(supply) การสำรวจกำลังคน สาเหตุของอุปสงค์ • สภาพแวดล้อมภายนอก • องค์กร • บุคลากร การพยากรณ์อุปทาน • ภายในองค์การ • ภายนอกองค์การ การพยากรณ์อุปสงค์ • การพยากรณ์โดยผู้เชี่ยวชาญ • การประเมินแนวโน้ม • เทคนิคอื่น ๆ อุปสงค์กำลังคน • ระยะสั้น • ระยะกลาง • ระยะยาว อุปทานกำลังคน • ระยะสั้น • ระยะกลาง • ระยะยาว แผนทรัพยากรมนุษย์ ขององค์การ • ระยะสั้น • ระยะกลาง • ระยะยาว
เทคนิคการพยากรณ์อุปสงค์ด้านบุคลากรเทคนิคการพยากรณ์อุปสงค์ด้านบุคลากร
การพยากรณ์อุปทาน ภายในองค์กร การวางแผนสืบทอดตำแหน่ง แผนภูมิการทดแทน ตัวแบบการเคลื่อนย้ายบุคลากร การพยากรณ์อุปทานภายนอกองค์กร การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน ทัศนคติของชุมชน ลักษณะประชากร การพยากรณ์อุปทานกำลังคน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและความแน่นอนในการพยากรณ์ด้านกำลังคนปัจจัยที่ก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและความแน่นอนในการพยากรณ์ด้านกำลังคน
การวัดและประเมินบุคคลการวัดและประเมินบุคคล เพื่อการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
กระบวนการสรรหาบุคลากรกระบวนการสรรหาบุคลากร การวางแผนบุคลากร ผู้จัดการฝ่ายแจ้งขอ ตำแหน่งเป็นกรณีพิเศษ ระบุตำแหน่งงาน ที่ต้องการสรรหา การวิเคราะห์งาน ระบุข้อกำหนด เกี่ยวกับตำแหน่งงาน ความเห็น ผู้จัดการฝ่าย กำหนดวิธีการสรรหา กลุ่มผู้สมัครงานที่มี คุณสมบัติเหมาะสม
มุมมองของผู้สมัครงาน เงินเดือนและค่าตอบแทน รางวัล/ผลตอบแทน ทางจิตใจ ภาพลักษณ์ขององค์กร ลักษณะการปกครองบังคับบัญชา ค่านิยมขององค์กร มุมมองขององค์กร ภูมิหลังทางการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ลักษณะส่วนบุคคล มุมมองของการสรรหาบุคลากร
ข้อดีและข้อเสียของการสรรหาบุคลากรจากภายในและภายนอกองค์การข้อดีและข้อเสียของการสรรหาบุคลากรจากภายในและภายนอกองค์การ
บทบาทของการวิเคราะห์งานในการคัดเลือกและการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร การวิเคราะห์งาน ตัวทำนาย • ข้อมูลเกี่ยวกับงาน • หน้าที่ • ภารกิจ • ขั้นตอนการทำงาน • คุณสมบัติที่จำเป็น • ความรู้ • ทักษะ • ความสามารถ • คุณลักษณะอื่นๆ • เครื่องมือสำหรับการคัดเลือก • การทดสอบ • การสัมภาษณ์ • การตรวจร่างกาย • อื่นๆ เกณฑ์ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • ผลงาน • พฤติกรรมการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติของผู้สมัครงานกับข้อกำหนดเกี่ยวกับงานและลักษณะของงาน (ดัดแปลงจาก Personnel Human Resource Management, by H. G. Heneman, D. P. Schwab, J. A. Fossum, & L. D. Dyer, 1986, Homewood, IL: Irwin. ข้อกำหนด เกี่ยวกับงาน งาน ลักษณะ ของงาน ความสามารถ ในการปฏิบัติงาน แรงจูงใจ ในการปฏิบัติงาน • ความรู้ • ทักษะ • ความสามารถ • บุคลิกภาพ • ความสนใจ • ความปรารถนา ผู้สมัครงาน
ประเภทของการทดสอบ การทดสอบปฏิบัติงาน การสังเกตพฤติกรรม การรายงานด้วยตนเอง ลักษณะการทดสอบที่ดี ความเที่ยง(Reliability/Consistency) ความตรง(Validity of measurement and decision) ประเภทของการทดสอบและลักษณะของการทดสอบที่ดี
วิธีการประเมินบุคคลเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สมัครงาน (ดัดแปลงจาก Murphy & Davidshofer, 1994)
สรุปผลการวิจัยความตรงของแบบสำรวจชีวประวัติ (ดัดแปลงจาก Gatewood &Field. 1998)
ตัวอย่างแผนการประเมินคุณสมบัติของผู้สมัครงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ตัวอย่างแผนการประเมินคุณสมบัติของผู้สมัครงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสัมภาษณ์ (ดัดแปลงจาก Arvey, R. D., & Campion, J. E. “The Employment Interview: A Summary of Recent Research,” Personnel Psychology, 1982, 35, 283.) ผู้สมัครงาน • อายุ เชื้อชาติ เพศ ฯลฯ • ลักษณะรูปร่างและหน้าตา • ภูมิหลังทางการศึกษาและ การทำงาน • ลักษณะทางจิต: วิทยาทัศนคติ แรงจูงใจ สติปัญญา ฯลฯ • ความสนใจและแผนการด้านอาชีพ • ประสบการณืและการได้รับการ ฝึกอบรมในฐานะผู้สมัครงาน • การรับรู้เกี่ยวกับผู้สัมภาษณ์ บริษัท งาน ฯลฯ • พฤติกรรมที่แสดงออกทั้งทางวาจา และร่างกาย สถานการณ์ • ความกดดันด้านการเมือง กฎหมาย และเศรษฐกิจที่มีต่อตลาดแรงงงาน และองค์การ • บทบาทของการสัมภาษณ์ในระบบ การคัดเลือกบุคลากร • อัตราส่วนการคัดเลือก • สภาพทางกายภาพ: ความสบาย ความเป็นส่วนตัว จำนวนผู้สมัคร งาน • โครงสร้างของการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ • อายุ เชื้อชาติ เพศ ฯลฯ • ลักษณะรูปร่างและหน้าตา • ลักษณะทางจิตวิทยา: ทัศนคติ สติปัญญา แรงจูงใจ ฯลฯ • ประสบการณ์และการได้รับการ ฝีกอบรมในฐานะผู้สัมภาษณ์ • การรับรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดของงาน • ความรู้ล่วงหน้าเกี่ยวกับตัวผู้สมัครงาน • เป้าหมายของการสัมภาษณ์ • พฤติกรรมที่แสดงออกทั้งทางวาจา และร่างกาย การสัมภาษณ์งาน ผลลัพธ์ของการสัมภาษณ์งาน
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ • ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ (HierachyofNeedsTheory ) ของอับราอัม เอช . มาสโลว์ ( Abrah H. Maslow ) • สาระสำคัญของทฤษฎีนี้ก็คือการเน้นย้ำในเรื่องของความต้องการของมนุษย์ มนุษย์ทุกคนนั้นมีความต้องการอยู่ตลอดเวลาอย่างไม่สิ้นสุด และเป็นความต้องการที่เป็นชุดที่มีการจัดลำดับไว้เป็นหลั่นชั้น ความต้องการระดับที่ต่ำที่สุดก็คือ ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพ ( BasicPhysiologicalandBiologicalNeeds ) และระดับสูงที่สุดก็คือความต้องการที่จะประสบความสำเร็จหรือความต้องการประจักษ์ตน ( Self-Fullfillment หรือ Self-ActualizationNeeds ) ดังนี้ • แผนภาพแสดงลำดับชั้นความต้องการตามทฤษฎีของอับราฮัมเอช . , มาสโลว์ (Abraham H. Maslow) • ขั้นที่ 1. ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพ ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพนั้นเป็นความต้องการในระดับต่ำขั้นแรก เป็นความต้องการซึ่งจำเป็นเพื่อการอยู่รอดอันเป็นเรื่องทางกายภาพและชีวภาพคือ ความต้องการในการพักผ่อน อากาศ อุณหภูมิที่พอเหมาะ การขับถ่าย การเคลื่อนไหว เรื่องเพศ รวมตลอดถึงความต้องการในปัจจัยสี่คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค • ขั้นที่ 2. ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง สำหรับความต้องการที่จะมีความปลอดภัยและความมั่นคงนี้เป็นความต้องการที่ปรารถนาที่จะอยู่ห่างจากสิ่งที่เป็นภัยอันตรายทั้งปวงต่อชีวิตไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุ โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ รวมตลอดจนถึงความไม่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดังนั้นบุคคลและองค์การจึงสนใจในหลักประกันบางอย่าง ได้แก่ การประกันภัยในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในด้านสุขภาพ อุบัติเหตุและชีวิต เป็นต้น รวมถึงการเก็บเงินสะสม การใช้บำเหน็จบำนาญเมื่อเกษียณอายุ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้อาจทำให้เกิดความรู้สึกปลอดภัยและมั่นคง • ขั้นที่ 3. ความต้องการทางสังคม ความรักใคร่และความเป็นเจ้าของ ความต้องการทางสังคม ความต้องการความรักใคร่ และความรู้สึงเป็นเจ้าของนี้ บุคคลโดยทั่วไปมักจะมีความสัมพันธ์กับบิดามารดา สามีภรรยาและลูกรวมตลอดถึงญาติพี่น้อง นอกจากนั้นความต้องการนี้อาจตอบสนองได้ในสภาพแวดล้อมทางสังคม ได้แก่ ความต้องการมีความสัมพันธ์อันอบอุ่นกับเพื่อน โดยเฉพาะกับเพื่อนร่วมงาน และความรู้สึกที่ว่าตนนั้นแป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เป็นคนที่มีคุณค่าของกลุ่มที่เขาเป็นสมาชิก ถ้าปราศจากความรู้สึกที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มแล้ว เขาจะรู้สึกว่าเขาเป็นบุคคลไม่พึงปรารถนา และรู้สึกว่าตนนั้นไม่เป็นที่ต้องการหรือไม่มีคุณค่าและเรื่องที่คลุมไปถึงความรู้สึกเป็นเจ้าของด้วย • ขั้นที่ 4. ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องและเป็นที่ยอมรับ ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องและเป็นที่ยอมรับ หมายถึง ความต้องการของบุคคลที่มีคุณค่าในสายตาของคนอื่น ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความสามารถที่แท้จริง ความสำเร็จ และความเคารพที่ได้รับจากคนอื่น ความต้องการเหล่านี้อาจแบ่งป็น 2 กลุ่มย่อยคือ • 1. ความปรารถนาที่จะมีความแข็งแกร่ง มีความสำเร็จ มีความเพียงพอ มีความมั่นใจ เพื่อที่จะเผชิญโลก และมีความเป็นอิสระและเสรีภาพ • 2. ความปรารถนาที่จะมีชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ซึ่งเป็นการได้รับการเคารพหรือความยกย่องที่ได้รับจากบุคคลอื่น การได้รับ ความสนใจ ความสำคัญ หรือการเห็นคุณค่า • ขั้นที่ 5. ความต้องการที่จะประสบความสำเร็จสูงสุดหรือความต้องการประจักษ์ตน มาสโลว์ ได้สรุปความคิดเกี่ยวกับการที่บุคคลพยายามมุ่งตอบสนองความต้องการที่จะประสบความสำเร็จสูงสุดในชีวิตหรือความต้องการประจักษ์ตนนี้ว่า หมายถึงแนวโน้มของบุคคลที่จะเป็นอะไร หรืออยู่ในสถานภาพอะไรสักอย่างหนึ่งที่เขาเองมีศักยภาพจะเป็นได้ แนวโน้มนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นความปรารถนาที่จะเป็นอย่างที่ตนเป็นมากขึ้น สูงขึ้น โดยเป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะเป็นได้
ทฤษฎีสององค์ประกอบ S3 S2 g S1 S5 S4
ทฤษฎีสององค์ประกอบของเฮอร์สเบอร์กทฤษฎีสององค์ประกอบของเฮอร์สเบอร์ก • เฟรเดอริคเฮอร์สเบอร์ก ( FrederickHerzberg ) ก็ได้ทำการศึกษาแรงจูงใจโดยพิจารณาปัจจัยหรือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวโยงกับการทำงาน โดยเฉพาะปัจจัยที่ทำให้เกิดความพึงพอใจ • สรุปว่าปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในงานนั้นจะสัมพันธ์กับลักษณะในเนื้องาน เฮอร์สเบอร์กเรียกปัจจัยที่ทำใหเกิดความพึงพอใจนี้ว่าปัจจัยจูงใจ ( motivators ) ปัจจัยจูงใจนี้คือความสำเร็จ ( achievement ) การได้รับความยอมรับ ( recognition ) ความก้าวหน้า ( advancement ) ตัวงานเอง ( workitself ) ความเป็นไปที่จะจำเริญเติบโต ( possibilityofgrowth ) และความรับผิดชอบ ( responsibility ) • ส่วนปัจจัยที่ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจในงาน นั้นจะสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมที่อยู่นอกเนื้องาน ซึ่งเฮอร์สเบอร์กเรียกปัจจัยที่ก็ให้เกิดความไม่พึงพอใจนี้ว่า ปัจจัยสุขอนามัย ( hygienefactors ) หรือ ปัจจัยเพื่อความคงอยู่ ( maintenancefactors ) ปัจจัยสุขอนามัยนี้มีหลายประการคือ สถานภาพ ( status ) สัมพันธภาพกับผู้ควบคุมบังคับบัญชา ( relationswithsupervisors ) สัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงาน ( peerrelations ) สัมพันธภาพกับผู้ใต้บังคับบัญชา (relationswithsubordinates ) คุณภาพของการควบคุมบังคับบัญชา ( qualityofsupervision ) นโยบายและการบริหารของบริษัท ( companypolicyandadministration ) ความมั่นคงในงาน ( jobsecurity ) สภาพการทำงาน ( workingconditions ) ค่าจ้าง ( pay ) • เฮอร์สเบอร์กเห็นว่าปัจจัยสุขอนามัยนั้นเป็นสภาพแวดล้อมอันสำคัญยิ่งของงานที่จะรักษาคนไว้ในองค์การในลักษณะที่ทำให้เขาพอที่จะทำงานได้ กล่าวคือถ้าปัจจัยสุขอนามัยไม่ได้รับการตอบสนองก็จะเป็นสาเหตุทำให้บุคคลเกิดความไม่พอใจในงาน ถึงแม้ปัจจัยสุขอนามัยจะได้รับการตอบสนองก็จะเป็นเพียงการช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความไม่พอใจในงานเท่านั้น แต่จะสามารถนำไปสู่ความพอใจในงานหรือจูงใจให้คนปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเต็มความสามารถได้ นั่นคือปัจจัยสุขอนามัยในตัวของมันเอง ไม่สามารถจูงใจบุคคล มีแต่ปัจจัยจูงใจเท่านั้นที่จะจูงใจบุคคลให้ทำงานได้ ดังนั้นถ้ายึดทฤษฎีเฮอร์สเบอร์กแล้ว บุคคลจะต้องทำงานที่มีลักษณะท้าทายจึงเป็นการจูงใจเขาให้ทำงานอย่างแท้จริง
ทฤษฎีโครงสร้างสติปัญญาทฤษฎีโครงสร้างสติปัญญา Products Operations Content
ทฤษฎีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ( David C. McClelland ) DavidC. McClelland ผู้สร้างทฤษฎีการจูงใจในความสำเร็จหรือแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ( AchievementMotivation ) ได้ศึกษาถึงระดับความต้องการในความสำเร็จของมนุษย์ที่แตกต่างกัน แมคเคลแลนด์เห็นว่าโดยทั่วไปการจูงใจของผู้ปฏิบัติงานจะเป็นผลจากความต้องการสำคัญ 3 ประการคือ ความต้องการที่จะมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ ( needforaffiliation ) ความต้องการที่จะมีอำนาจหรือแรงจูงใจใฝ่อำนาจ ( needforpower ) และความต้องการที่ทำงานให้สำเร็จหรือแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ( needforachievement )และให้ความสนใจเป็นอย่างมากในความต้องการที่จะทำงานให้สำเร็จหรือแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และได้ศึกษาลักษณะของผู้ที่จะประสบความสำเร็จสูง ( highachiever ) ว่าจะมีลักษณะของการกล้าเสี่ยงอยู่พอสมควร บุคคลเหล่านี้จะเป็นผู้มีความกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบสูง และจะฉลาดในการวางเป้าหมายในระยะยาวที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงอันไม่เป็นเป้าหมายที่สูงหรือต่ำกว่าศักยภาพของเขาเองจนเกินไป และเขาผู้นั้นจะต้องมีความสามารถในการบริหารองค์การ และจะต้องมีความมุ่งมั่นในความสำเร็จของงาน และเมื่องานสำเร็จก็เกิดความพึงพอใจในความสำเร็จนั้น ซึ่งเป็นความพึงพอใจในเนื้องานเอง ผู้ที่มุ่งความสำเร็จของงานจึงมีใจจดจ่ออยู่กับงาน และใช้ความพยายามอย่างสูงสุดเพื่อให้งานสำเร็จด้วยดี บุคคลเหล่านี้จะพยายามแสวงหาข้อมูลป้อนกลับ ( feedback ) อยู่เสมอ ทั้งนี้เพื่อประเมินค่าสิ่งที่ตนทำและพร้อมที่จะปรับรุงแก้ไขในขณะเดียวกัน ความรวดเร็วของข้อมูลป้อนกลับที่ได้รับจะมีความหมายยิ่ง ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความสำเร็จหรือความล้มเหลว และเพื่อจะได้คิดหาวิธีแก้ไขปัญหาหรือข้อผิดพลาดในงานได้ทันท่วงที
ตัวอย่างวิธีทำแผนการสรรหาในราชการตัวอย่างวิธีทำแผนการสรรหาในราชการ • แยกประเภทตำแหน่ง • สำรวจสภาพกำลังคน • กำหนดวิธีการสรรหา - สรรหาจากภายใน กอง ฝ่าย - สรรหาภายใน กรม - สรรหาจากภายนอก • ดำเนินการสรรหา ตามประเภท และวิธีการที่กำหนด • ประเมินผลการสรรหา
แผนเตรียมคนเข้าสู่ตำแหน่ง & การบรรจุแต่งตั้ง
แผนเตรียมคนเข้าสู่ตำแหน่ง & การบรรจุแต่งตั้ง(ต่อ)
การสรรหาและเลือกสรร พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • 1. การสอบแข่งขัน : มาตรา 53 2. การคัดเลือก : มาตรา 55 3. การบรรจุผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้ชำนาญการ หรือผู้มีทักษะพิเศษ : มาตรา 56
1. การสอบแข่งขัน : มาตรา 53 การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งนั้น โดยบรรจุและแต่งตั้งตามลำดับที่ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ การสอบแข่งขัน การขึ้นนัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียด เกี่ยวกับการสอบแข่งขันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้กับการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตาม มาตรา 55 มาตรา 56 มาตรา 63 มาตรา 64 และมาตรา 65
2. การคัดเลือก : มาตรา 55 ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 อาจคัดเลือกบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โดยไม่ต้องดำเนินการสอบแข่งขัน ตามมาตรา 53 ก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด
3. การบรรจุผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้ชำนาญการ หรือผู้มีทักษะพิเศษ : มาตรา 56 กระทรวงหรือกรมใด มีเหตุผลและความจำเป็นอย่างยิ่ง จะบรรจุบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญงานสูงเข้ารับราชการและ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ผู้ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ หรือทรงคุณวุฒิ หรือตำแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด
การสรรหาและเลือกสรรทรัพยากรบุคคล และ การสรรหา : การเสาะแสวงหาบุคคลที่พร้อม และสามารถจะทำงานได้เข้ามา สมัครเข้าทำงานตามที่ส่วนราชการกำหนด การเลือกสรร : การพิจารณาบุคคลที่ส่วนราชการได้ทำ การสรรหามาทั้งหมด และทำการคัดเลือก บุคคลที่เหมาะสมกับตำแหน่งงาน และส่วนราชการมากที่สุดไว้
เครื่องมือในการสรรหาบุคคลเครื่องมือในการสรรหาบุคคล • การมาสมัครด้วยตนเอง (Walk - ins) • การแนะนำโดยบุคลากรของหน่วยงาน (Referrals) • การส่งเจ้าหน้าที่ไปติดต่อ (Field trips) • การให้ทุน (Scholarships) • การประกาศผ่านสื่อ (Advertising) • การเยี่ยมชมกิจการของหน่วยงาน (Open House) • การจัดตลาดนัดแรงงาน (Job Fairs) • การประกาศผ่านสมาคมวิชาชีพ (Professional Societies) ฯลฯ
เครื่องมือในการเลือกสรรบุคคล • ใบสมัครงาน (Application Form) • ประวัติส่วนตัว (Resume) • หนังสือรับรอง (Reference check) • แบบทดสอบ (Test) • การทดสอบปฏิบัติงาน (Work Sample) • การสัมภาษณ์ (Interview) • การตรวจสุขภาพ (Physical Examination) • การตรวจสอบประวัติ (Background Assessment) • การใช้เทคนิคศูนย์รวมการประเมิน (Assessment Centers) • การทดลองปฏิบัติงาน (Probation) ฯลฯ
สิ่งที่คำนึงถึงในกระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลสิ่งที่คำนึงถึงในกระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคล • กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้อง • ปรัชญาของการบริหารทรัพยากรบุคคล • หลักการสำคัญของการสรรหาและเลือกสรรบุคคล • ความสอดคล้องระหว่าง “ส่วนราชการ งาน และคน” • ข้อมูลแผนกำลังคนของส่วนราชการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 30 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง เศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอัน ไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิได้ มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพ ได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม ผลที่เกิดขึ้นต่อกระบวนการสรรหาฯ : • การดำเนินการสรรหาฯ จะต้องกระทำด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้สมัครเฉพาะคนหนึ่งคนใดเป็นพิเศษ โดยแต่ละคนต้องได้รับการปฏิบัติเช่นเดียวกันตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ไม่ปฏิเสธผู้สมัครหรือไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล เพราะเหตุแห่งความแตกต่าง ... ยกเว้นว่าสามารถหาหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่าเหตุเหล่านี้หรือการเลือกปฏิบัติเหล่านี้ส่งผลต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นได้ดีกว่าอย่างแท้จริงและมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเลือกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เน้นเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของภาครัฐมากขึ้น การประกันและ คุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน ภาครัฐมีการบริหารการปกครองที่โปร่งใส สามารถถูกตรวจสอบโดยประชาชนได้มากขึ้น เพื่อให้การบริหารราชการบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ ผลที่เกิดขึ้นต่อกระบวนการสรรหาฯ 1. ผู้ดำเนินการสรรหาฯ จะต้องกระทำการด้วยความเป็นธรรม มีเกณฑ์การจัดการ สรรหาที่ดี เหมาะสม และเป็นธรรม 2. ระยะเวลา ขั้นตอนในการสรรหาและเลือกสรร ต้องมีการกำหนดที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ และขอเข้าดูได้ 3. ควรจัดให้มีการติดตาม ประเมินผลกระบวนการสรรหาและเลือกสรร อย่างต่อเนื่อง เพื่อดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสอย่างกว้างขวางในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ รวมทั้ง รับรู้สิทธิและหน้าที่ของตนอย่างเต็มที่ สามารถแสดงความคิดเห็น ใช้สิทธิทางการเมืองได้อย่างถูกต้องตรงกับความเป็นจริง ส่งเสริมให้การบริหารงานของรัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส ผลที่เกิดขึ้นต่อกระบวนการสรรหาฯ องค์การของรัฐมีหน้าที่ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ผู้สมัครเข้ารับ การเลือกสรรจึงมีสิทธิในการตรวจสอบกระบวนการและการทดสอบต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการสรรหาฯ รวมทั้ง มีสิทธิร้องเรียนในกรณีที่เกิด ความไม่เป็นธรรมดังนั้น ต้องปฏิบัติงานตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง โปร่งใส ข้อมูลทุกอย่างที่มีในกระบวนการสรรหาฯ ต้องเปิดเผยและตรวจสอบได้
หลักการสำคัญ [มาตรา42(1) และ มาตรา 52] ความรู้ ความสามารถ ระบบคุณธรรม พฤติกรรม ทางจริยธรรม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 หลักการ สำคัญ ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ประโยชน์ของทางราชการ
ความสอดคล้องระหว่าง “ส่วนราชการ งาน และบุคคล” บุคคล ผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงาน ความสอดคล้อง งาน ส่วนราชการ 1. ส่วนราชการสรรหาและเลือกสรรคนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับงานและส่วนราชการ • บทบาทของบุคลากรต้องมีความรู้ความสามารถในการดำเนินการ และ มีส่วนร่วมในการกำหนดกลยุทธ์และแนวทางของภารกิจของส่วนราชการ
กระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการกระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ • 1. การวางแผนการสรรหาและเลือกสรร • เตรียมการในกิจกรรมต่าง ๆ ของการจัดหาบุคคลที่เหมาะสมเพื่อเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ • จัดทำแผนปฏิบัติงาน • การวางแผนที่ดีต้องอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับภาระหน้าที่ นโยบาย และเป้าหมายของหน่วยงาน กำลังคนของหน่วยงานในปัจจุบัน และสภาพการณ์ของตลาดแรงงาน ตลอดจน ต้องครอบคลุมการดำเนินงานในทุกกิจกรรมของการสรรหาและเลือกสรร
กระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ (ต่อ) 2. การกำหนดวิธีการสรรหาและเลือกสรร • หน้าที่ความรับผิดชอบหลักนำไปสู่การกำหนด วิธีการสรรหาและเลือกสรร • การวิเคราะห์งานเพื่อทราบลักษณะงานและ คุณสมบัติของบุคคล • แนวคิด “งานที่แตกต่างกันย่อมต้องการ คนที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน”
การวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งาน ข้อมูลเกี่ยวกับงาน คุณสมบัติที่จำเป็น “KSAOs” • ความรู้ • ทักษะ • ความสามารถ • คุณลักษณะอื่น ๆ เครื่องมือใน การสรรหาและ เลือกสรร • หน้าที่ • ภารกิจ • ขั้นตอนการทำงาน ผลการปฏิบัติงาน
กระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ (ต่อ) 2. การกำหนดวิธีการสรรหาและเลือกสรร (ต่อ) วิธีการวิเคราะห์งาน • Critical Incident Technique • Task Analysis Method • Subject Matter Expert Committee
กระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ (ต่อ) 3. การสรรหา “เน้นให้มีผู้มีคุณสมบัติตามประกาศรับสมัครมาสมัคร • ให้มากที่สุด” สิ่งสำคัญ • เลือกสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้มีคุณสมบัติที่ส่วนราชการ • ต้องการ • แพร่ข่าวโดยให้ข้อมูลตามความจำเป็นของตำแหน่ง • สรรหาเชิงรุก
สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาประกอบในการเลือกเครื่องมือสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาประกอบในการเลือกเครื่องมือ ในการสรรหาบุคคล • การคาดคะเนจำนวนผู้สนใจจะมาสมัคร • งบประมาณของส่วนราชการ
กระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ (ต่อ) 4. การเลือกสรร • พิจารณาความแตกต่างระหว่างบุคคลซึ่งสามารถ • ทดสอบ/ วัดได้ โดยมีข้อสมมติฐานคือ • “ผู้ที่ได้รับการเลือกสรรจะปฏิบัติงานได้ดีกว่า • ผู้ที่ไม่ได้รับการเลือกสรร”