190 likes | 590 Views
ระบบการดูแลนักศึกษาแพทย์. นพ.ศิวัฒม์ ภู่ริยะพันธ์ ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา. คณะกรรมการเพื่อดูแลนักศึกษาแพทย์. แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาระบบสนับสนุนนักศึกษ า. Prevention สำรวจหัวข้อเพื่อจัดอบรม จัดอบรมตามหัวข้อที่กำหนด - ทักษะทางภาษา(พูด อ่าน เขียน)
E N D
ระบบการดูแลนักศึกษาแพทย์ระบบการดูแลนักศึกษาแพทย์ นพ.ศิวัฒม์ ภู่ริยะพันธ์ ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา
แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาระบบสนับสนุนนักศึกษาแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาระบบสนับสนุนนักศึกษา Prevention สำรวจหัวข้อเพื่อจัดอบรม จัดอบรมตามหัวข้อที่กำหนด - ทักษะทางภาษา(พูด อ่าน เขียน) - เพศศึกษา, การเบี่ยงเบนทางเพศ - การปรับตัวกับสังคมปัจจุบัน - เทคนิคการประชุม - การจัดการเวลา - การทำงานกลุ่ม(Teamwork) ข้อมูลนักศึกษาถูกส่งถึงผู้ปกครอง Detection Facilitator ผู้ปกครอง,เพื่อน, รุ่นพี่ อาจารย์ที่ปรึกษา ผลการเรียน นักกิจการนักศึกษา, นักวิชาการ, ภาควิชา นักศึกษากลุ่มเสี่ยง นักศึกษามีปัญหา เรื่องการเรียน /พฤติกรรม Screening นักจิตวิทยา จิตแพทย์ นศ. มีปัญหาเรื่องพฤติกรรม ในด้านต่างๆ นศ. มีปัญหาเรื่องการเรียน
Mild - Risk Moderated - Risk High - Risk • วิธีดำเนินการ • ดูแลและแก้ปัญหาเบื้องต้น • โดย อ. Facilitator • อ. ประจำ Block • อ. ประจำภาควิชา • อ. ประจำกระบวนวิชา วิธีดำเนินการ 1. แจ้งผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานงานร่วมกับคณะกรรมการ ดูแลนศ. ชั้นปรีคลินิกและชั้นคลินิก 3. พบปะพูดคุยระหว่าง นศ./ อ.ที่ปรึกษา/อ.อาสาสมัคร วิธีดำเนินการ 1. แจ้งผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานงานร่วมกับ คณะกรรมการดูแล พฤติกรรม นศ. Follow Up All Database : Confidentiality
พบนักศึกษาแพทย์ที่มีปัญหาพบนักศึกษาแพทย์ที่มีปัญหา PRE-CLINIC CLINIC ขั้นตอนการดูแลนักศึกษาแพทย์ที่มีปัญหา MILD CASEMILD CASE คณะอนุกรรมการจัดการศึกษา (ดูแลเรื่องการเรียน) อาจารย์ประจำภาควิชาฯ / กระบวนวิชา อาจารย์ Facilitator / อาจารย์ประจำ Block หน้าที่ ดูแลและแก้ปัญหาเบื้องต้น หน้าที่ ดูแลและแก้ปัญหาเบื้องต้น YES NO NO
MODERATE CASE แจ้งทางโทรศัพท์ / วาจา และรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรแก่ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง ผู้ประสานงาน พรพรรณ / กนกวรรณ 053–945271, 053-945276 คณะกรรมการดูแลนักศึกษาในชั้นปรีคลินิก คณะกรรมการดูแลนักศึกษาในชั้นคลินิก นักศึกษาแพทย์ อาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษาแพทย์ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์อาสาสมัคร อาจารย์อาสาสมัคร ผู้บริหารที่รับผิดชอบผู้บริหารที่รับผิดชอบ รศ. พญ.สุปรียาฯ / อ.นพ.ศิวัฒม์ รศ. พญ.สุปรียาฯ / อ.นพ.ศิวัฒม์ (ด้านวิชาการและด้านอื่นๆ) (ด้านวิชาการและด้านอื่นๆ) SEVERE CASE คณะกรรมการดูแลพฤติกรรมนักศึกษาแพทย์ ผู้ประสานงาน กนกวรรณ / พรพรรณ 053-945271, 053-945276
คะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ 2 กระบวนวิชาติดต่อกัน ทำแบบสอบถาม CES - D ทำแบบสอบถาม Thai GHQ-28 ไม่ควรพบจิตแพทย์ คะแนนปกติ คะแนนปกติ คะแนน> 22 คะแนน> 5 ควรพบจิตแพทย์ M.I.N.I ไม่ปกติ ปกติ พบจิตแพทย์ รวบรวมผลและแจ้งผลกับคณะกรรมการฯ ขั้นตอนการดูแลนักศึกษาในชั้นปรีคลินิก ผลการสอบของแต่ละรายวิชา สอบผ่าน แจ้งอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อดูแลในขั้นต้น
แบบสอบถาม CES - D ใช้คัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นหากผลการทำแบบสอบถามได้รับระดับคะแนนมากกว่า 22 ถือได้ว่าผู้ทำแบบสอบถามอยู่ในภาวะซึมเศร้า
แบบสอบถาม Thai GHQ-28 เป็นแบบประเมินสุขภาพทั่วไป หากผลการทำแบบสอบถามได้รับระดับคะแนนมากกว่า 5 ถือได้ว่าผู้ทำแบบสอบถามอยู่ในภาวะเสี่ยงที่จะเกิดโรคทางจิตเวช
ขั้นตอนการดูแลนักศึกษาในชั้นคลินิกขั้นตอนการดูแลนักศึกษาในชั้นคลินิก นักศึกษากลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาเรื่องการเรียนและพฤติกรรม ส่งจดหมายไปยังภาควิชาที่นักศึกษาฝึกปฏิบัติงาน ณ ขณะนั้น เพื่อติดตามพฤติกรรม ติดตามรายงานผลจากภาควิชานั้นๆ สรุปผล แจ้งที่ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข
โรคทางจิตเวชที่พบในนักศึกษาโรคทางจิตเวชที่พบในนักศึกษา - MDD (Major Depressive Disorder) 6 คน - OCPD (Obsessive Compulsive Personality Disorder ) 5 คน - ADHD (Attention-Deficit Hyperactivity Disorder) 2คน - Bipolar ll Disorder2คน - Bipolar l Disorder 1คน - Epilepsy 1คน - Histrionic Personality Disorder1คน - Adjustment Disorder 1คน - Schizophrenia 1คน
เมื่อนักศึกษาแพทย์มีปัญหาเมื่อนักศึกษาแพทย์มีปัญหา การเรียน การคบเพื่อน Hotline การปรับตัว ปรึกษาได้ที่ ความรัก Tel... หน่วยกิจการนักศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 053-94-5427