1 / 54

Knowledge Forum and the Best Practice 52

Knowledge Forum and the Best Practice 52. นพพร เพียรพิกุล งานบริการ ฝ่ายบริการทรัพยากรสารนิเทศ มีนาคม 255 3. มหกรรม Knowledge Forum and The Best Practice 52. กิจกรรม : กิจกรรม KM ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กรุงเทพฯ เจ้าภาพ : มหาวิทยาลัย

kieve
Download Presentation

Knowledge Forum and the Best Practice 52

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Knowledge Forum and the Best Practice 52 นพพร เพียรพิกุล งานบริการ ฝ่ายบริการทรัพยากรสารนิเทศ มีนาคม 2553

  2. มหกรรม Knowledge Forum and The Best Practice 52 กิจกรรม: กิจกรรม KM ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กรุงเทพฯ เจ้าภาพ: มหาวิทยาลัย สถานที่จัด: ห้องประชุมใหญ่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วัน-เวลา: 30 กรกฎาคม 2552 9.00-16.30 น.

  3. กิจกรรม • การเสวนาหัวข้อ การพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้ • การจัดนิทรรศการกิจกรรมการจัดการความรู้ • การประกวดแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) (กิจกรรม KM ของคณะ/สำนัก)

  4. NIDA KM • แผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ (แผนพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้) • Sharing • Knowledge Forum • การศึกษาดูงาน • NIDA KM: Wisdom for Change • www.km.nida.ac.th • การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ภายในองค์กร • Doing • Best Practice • NIDA Academic Bank • KM Active • Training • การสัมมนาการจัดการความรู้ประจำปี (NIDA KM Seminar) + การประกวดและนำเสนอผลงาน

  5. บรรยากาศในห้องประชุม บรรยากาศในห้องประชุม

  6. Feedback

  7. Memory Tree

  8. ผลการประกวด • รางวัลที่ 1 โครงการ Students’ Journey: Way to Success (คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์) • รางวัลที่ 2 โครงการ Helpdesk Service System (สำนักการศึกษาระบบสารสนเทศ) • รางวัลที่ 3 โครงการฐานข้อมูลคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อการบริหารและบริการ

  9. ผลการประกวด รางวัลชมเชย โครงการBook Delivery Service (สำนักบรรณสารการพัฒนา) โครงการพัฒนาเว็บไซต์คณะรัฐประศาสนศาสตร์ (คณะรัฐประศาสนศาสตร์)

  10. รางวัลชนะเลิศ

  11. รางวัลชนะเลิศ Best Practice 52 โครงการ “Students’ Journey: Way to Success” ของ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาระบบการสื่อสารภายในคณะระหว่างคน 3 กลุ่ม คือ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่คณะ และนักศึกษา โดยใช้แหล่งข้อมูลเดียวกัน (เว็บไซต์)

  12. ขั้นตอน • วางโครงร่างและเนื้อหาที่จะบรรจุในโครงการ • ฝ่ายการศึกษาของคณะกำหนดตารางกิจกรรมว่าช่วงไหนนักศึกษา ต้องทำอะไร โดยละเอียดตามลำดับเหตุการณ์ ในตลอด 2 ปี (โดยขอให้อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาช่วยกันพิจารณาข้อมูลทั้งหมด) • จัดทำข้อมูลบนเว็บไซต์ • สร้างห้องเรียน (E-Classroom) เพื่อเป็นช่องทางให้อาจารย์และนักศึกษาติดต่อกัน ในการ มอบหมายงาน ส่งงาน และส่งการบ้าน ฯลฯ

  13. รางวัลชมเชย (สำนักบรรณสารการพัฒนา)

  14. การบริการ “หนังสือด่วน ส่งถึงที่”Book Delivery Service สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กุมภาพันธ์ 2553

  15. เหตุผลความเป็นมา สาเหตุ หนังสือที่อาจารย์เสนอซื้อ ทำบันทึกแจ้งรายชื่อไปแล้วไม่มายืม นานจนต้องนำขึ้นชั้น มีการจองหนังสือที่มีคนยืมแล้ว รอจนหมดอายุการจอง ไม่มายืม (อายุการจอง 5 วัน) วัตถุประสงค์ เพื่อให้หนังสือพบกับผู้ใช้ที่ต้องการใช้ อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องรอบนชั้นนาน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าของงบประมาณที่จัดหามา เป็นบริการเชิงรุก เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการ

  16. ข้อได้เปรียบ เป็นมหาวิทยาลัยเล็ก ทั้งในด้านพื้นที่ และด้านจำนวนบุคลากร มีการส่งหนังสือประจำวันอยู่แล้ว เป็นโอกาสประชาสัมพันธ์งานบริการห้องสมุด ใช้สิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ต้องของบประมาณเพิ่ม ได้แก่ แรงงาน รถจักรยาน

  17. การดำเนินการระยะแรก 9 มีนาคม 2552 โครงการนำร่อง บริการเฉพาะคณาจารย์ (ประมาณ 180 คน) เพื่อดูปัญหาที่จะเกิดขึ้น ก่อนขยายโครงการไปสู่บุคลากรทั้งสถาบัน 1 มิถุนายน 2552 ขยายการบริการให้กับบุคลากรทั้งสถาบัน (ประมาณ 750 คน) ผลสรุป ประเภทบุคลากรที่ใช้มากที่สุด คือ อาจารย์ ประเภทหนังสือที่ยืม วิชาการ ช่องทางที่ใช้มากสุดคือ จองผ่านระบบ OPAC รองลงมาคือ โทรศัพท์ อีเมล เสนอซื้อ

  18. ช่องทางการขอรับบริการช่องทางการขอรับบริการ โทรศัพท์ Hotline สายด่วน 3737 (One Stop Service) E-mail: services@nida.ac.th, services.nida@gmail.com การจองผ่าน OPAC (คนละ 3 เล่ม) จองผ่านระบบ ICS (Internal Communication System) ของสถาบัน ช่องทางใหม่ MSN: services.nida@gmail.com

  19. ระบบ ICS ของสถาบัน

  20. Message Boards

  21. BDS

  22. ปัญหาและอุปสรรค แรก ๆ ตอนเปิดตัวใหม่ ๆ ผู้ใช้ยังไม่ค่อยทราบช่องทางการขอรับบริการ ด้านเทคโนโลยี อีเมลช้า ต้องโทรศัพท์มาสอบถาม (โทรศัพท์เร็วที่สุด) ต้องใช้โปรแกรมเสริมในการดึงข้อมูลการจองหนังสือที่มีสถานภาพ On shelf, In Process, In Cataloging ต้องตรวจสอบหนังสือที่อยู่บนชั้นจอง ว่ามีหนังสือที่ควร Delivery หรือไม่ ตลอดเวลา ต้องตรวจสอบตลอดเวลาเพื่อให้ทันกับรอบการส่ง (วันละ 4 รอบ 9.00, 11.00, 12.00 และ 16.00 น.) ต้องมีหลักฐานยืนยันการรับบริการ

  23. ข้อดี ทำให้ประชาคมรู้จักสำนักบรรณสารการพัฒนามากขึ้น ทำให้ผู้ปฏิบัติงานต้องตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา หนังสือมีการใช้อย่างคุ้มค่า หนังสือไม่ต้องรอผู้ใช้มายืมเอง สร้างความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็น End User เป็นไปตามคำขวัญของสำนัก “ทรัพยากรทันสมัย ตอบสนองฉับไว สร้างความพึงใจ เพื่อผู้ใช้บริการ”

  24. แผนงานในอนาคต จัดวางตู้ Book Drop ตามอาคารต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการมาคืน ข้อค้นพบ ผู้ใช้บางคนยังต้องการมาห้องสมุดเพื่อเลือกดูหนังสือเองจากชั้น ซึ่งมีหลากหลาย และมีอรรถรสมากว่า Shop ทาง OPAC แล้วขอ BDS ผู้ใช้ไม่สามารถดูหน้าสารบัญได้ อ่านชื่อแล้วน่าสนใจ แต่ไม่รู้เนื้อหาตรงหรือไม่ (ห้องสมุดเพิ่งเริ่มสแกนหน้าปก หน้าสารบัญและ เนื้อหา 10 หน้าแรกเข้า OPAC ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ไม่นาน) ดูคลิป BDS ที่ http://www.km.nida.ac.th/librarykm

  25. บริการหนังสือด่วน บุคคลภายนอก (10.2) ปี 2551 บริการภายใน 14 ช.ม. เวลาทำการ(บริการผู้ใช้ทุกประเภทใช้เวลาเท่ากัน) ปี 2552 เริ่ม 4 มกราคม 2553 บริการภายใน 6 ช.ม. เวลาทำการ สำหรับบุคลภายนอกเท่านั้น ประเภทอื่นยังคงเวลาประกันเท่าเดิม เงื่อนไข บริการเฉพาะบุคคลภายนอกที่มาติดต่อด้วยตนเองเท่านั้น หนังสือที่ต้องการต้องอยู่ในสถานภาพ In Process และ In Cataloging ขอรับบริการได้คนละ 2 เล่ม

  26. ขั้นตอนการบริการ ผู้ใช้มาติดต่อ เขียนแบบฟอร์ม โทรศัพท์แจ้งงานวิเคราะห์ฯ โพสต์คำขอในระบบ ICS ห้องบริการหนังสือด่วน งานวิเคราะห์ฯดำเนินการทุกขั้นตอนจนเสร็จส่งให้บรรณารักษ์งานบริการ และโพสต์ว่าดำเนินการแล้ว บรรณารักษ์งานบริการโทรศัพท์หรืออีเมลแจ้งผู้ใช้บริการ และโพสต์ว่าติดต่อผู้ใช้แล้วช่องทางใด วันที่ เวลา สำนักงานเลขานุการเก็บข้อมูล โดยคำนวณเวลาตั้งแต่เริ่มติดต่อขอรับบริการจนงานบริการแจ้งผู้ใช้

  27. งานหนังสือด่วน

More Related