290 likes | 745 Views
ชุดการสอนเสริม ความรู้ เรื่อง คอมเพรสเซอร์ สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขา งานปิโตร เคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด. นาย ยุทธ พันธ์ โคตร พันธ์. 1. 2. นักเรียนรู้จักหน้าที่และการแบ่งประเภทของเครื่องคอมเพรสเซอร์. นักเรียนรู้จักส่วนประกอบของเครื่องคอมเพรสเซอร์.
E N D
ชุดการสอนเสริมความรู้ เรื่อง คอมเพรสเซอร์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขางานปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด นายยุทธพันธ์ โคตรพันธ์
1 2 นักเรียนรู้จักหน้าที่และการแบ่งประเภทของเครื่องคอมเพรสเซอร์ นักเรียนรู้จักส่วนประกอบของเครื่องคอมเพรสเซอร์ วัตถุประสงค์
Fan/Blower/Compressor เครื่องจักรกลลม มีหน้าที่ในการถ่ายทอดพลังงานกลให้กับอากาศ โดยการเพิ่มความดัน ความเร็ว ให้สูงขึ้นสามารถแบ่งออกตามแรงดันได้เป็น 3 ลักษณะ • พัดลม(FAN) • โบลเวอร์(BLOWER) • เครื่องอัด(COMPRESSOR)
การแบ่งประเภทของเครื่องจักรกลลมการแบ่งประเภทของเครื่องจักรกลลม แบ่งตามลักษณะของความดันก๊าซที่เพิ่มขึ้นมีดังนี้ Fan => Pressure ไม่ถึง 0.03 Bar Blower => Pressure 0.03 - 3 Bar Compressor => Pressure สูงกว่า 3 Bar
FAN Axial Radial - Propeller - Radial - Tubeaxial - Forward curved - Vane axial - Backward inclinrd - Air foil Fan (พัดลม) • ขับเคลื่อน Gas ปริมาณมากๆ • ระบายอากาศ • แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • Axial Fan • Radial Fan www.themegallery.com
Propeller เป็นใบพัดลมซึ่งมีใบพัดลักษณะเดียวกับใบพัดเรือติดตั้งอยู่บนกรอบหรือแกนยึดใช้ในการขับเคลื่อนอากาศจากบริเวณหนึ่ง ให้อัตราการไหลในช่วงกว้างโดยอัตราการไหลขึ้นอยู่กับขนาดใบพัด จำนวนใบพัดและ ความเร็วรอบเพิ่มความดันให้อากาศน้อยมาก สามารถนำไปใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องมีท่อนำ www.themegallery.com
Tube axial เป็นใบพัดลมซึ่งมีใบพัดลักษณะเดียวกับพัดลมชนิด Propeller ติดตั้งอยู่ภายในปล่องทรงกระบอก การไหลของก๊าซอยู่ในแนวเดียวกันกับแกนหมุน ลักษณะการไหลของก๊าซเป็นแบบสกรู (Screw – likemotion) เพิ่มความดันของก๊าซได้ปานกลาง ให้อัตราการไหลในช่วงกว้าง ความเร็วเชิงเส้นของก๊าซในท่ออยู่ในช่วง 10 ถึง 20 เมตรต่อวินาที ประสิทธิภาพ ค่อนข้างต่ำ (30-50%)
Vaneaxial เป็นพัดลมซี่งมีใบพัดลักษณะเดียวกันกับพัดลมชนิด Propeller ชุดของใบพัด ติดตั้งอยู่ภายในปล่องทรงกระบอก มีแพนหรือครีบเป็นกระจังอยู่ทางด้านหน้าการไหลของก๊าซอยู่ในแนวเดียวกันกับแกนหมุน ลักษณะการไหลของก๊าซเป็นแบบเส้นตรง เพิ่มความดันของก๊าซได้ปานกลาง ให้อัตราการไหลในช่วงกว้าง ความเร็วเชิงเส้นของก๊าซในท่ออยู่ในช่วง 10 ถึง 20 เมตรต่อวินาที ประสิทธิภาพเชิงกลปานกลาง (40-65%) แบบลมพัดเป็นเส้นตรงเพราะมีแผ่นเวน (Vane-Axial Fan)
Radial เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปตามแนวรัศมี อยู่ในตัวถังรูปหอยโข่ง การไหลของก๊าซเป็นไปในแนวตั้งฉากกับแกนหมุน เพิ่มความดันของก๊าซค่อนข้างมาก ให้อัตราการไหลในช่วงกว้าง สามารถใช้กับก๊าซซึ่งมีอนุภาคของแข็งแขวนลอย หรือมีคุณสมบัติกัดกร่อนได้ดี นิยมใช้ในการระบายอากาศ การควบคุมอัตราการไหลทำได้ง่ายและสะดวก เครื่องเดินค่อนข้างเงียบ ประสิทธิภาพสูง (65 – 80 %) รูปพัดลมใบพัดรัศมีตรง (Radial-Blade Type)
Forwardcurve เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปตามแนวโค้งสวนกับทิศทางการหมุนของวงล้อ ให้อัตราการไหลในช่วงค่อนข้างแคบ ใช้กับก๊าซซึ่งมีอนุภาคของแข็งแขวนลอย หรือก๊าซซึ่งมีคุณสมบัติกัดกร่อนไม่ได้ เนื่องจากลักษณะใบพัดจะกักอนุภาคไว้ตามซอก ทำให้ความจุเครื่องลดลง และเสียสมดุลในการหมุน การเคลือบหรือบุผิวใบพัดทำได้ยากและไม่เป็นที่นิยมการควบคุมอัตราการไหลทำได้ยาก ประสิทธิภาพค่อนข้างสูง (55 – 75 %)
BackwardInclined เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปตามแนวโค้งตามทิศทางการหมุนของ ลักษณะการใช้งานเหมือนกับ Radial เครื่องเดินค่อนข้างเงียบและเป็นแบบไม่มีโอเวอร์โหลด (Non-overloading) ประสิทธิภาพสูง (65-80%) ใบพัดที่ซี่โค้งเข้าข้างหน้า (Sirocco) ส่งลมได้ปริมาณมาก ณ ความเร็วรอบต่ำและหมุนเงียบ
Airfoil เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปในแนวโค้งตามทิศทางการหมุนของวงล้อ ใบพัดของพัดลมชนิดนี้ จะมีลักษณะปลายโค้งเรียวแบบปีกเครื่องบิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การติดตั้งใบพัดและลักษณะการใช้งานเหมือนกับ Radial ใบพัดแบบแอร์ฟอยล์ ใบพัดที่ซี่โค้งลงหลัง เปลี่ยนพลังงานเป็นความกดดันได้โดยตรง www.themegallery.com
- Root - Vane - Screw COMPRESSOR COMPRESSOR หรือ เครื่องอัด เป็นเครื่องที่เพิ่มความดันของอากาศหรือก๊าซ ซึ่งความดันขาเข้าของเครื่องอัดส่วนมากจะเป็นความดันบรรยากาศ เครื่องอัดที่ได้รับความดันขาเข้าสูงกว่าความดันบรรยากาศ เรียกว่า เครื่องเพิ่มความดัน (BOOSTER) และเครื่องที่ดูดก๊าซที่ความดันต่ำกว่าบรรยากาศ ไปปล่อยที่ความดันบรรยากาศ เรียกว่า เครื่องดูด (VACUUM) Compressor & Blower Dynamics PositiveDisplacement Centrifugal Reciprocating Rotary
Dynamics Centrifugal การหมุนของใบพัดทำให้เกิดพลังงานจลน์ เกิดแรงเหวี่ยง ( Centrifugal Force ) ของ gas ทำให้เกิดมีความเร็วและความดันสูง
Centrifugal ข้อดี ข้อเสีย • ใช้ไม่ดีกับ gas ที่ของแข็งปนหรือมีน้ำหนัก • ต้องใช้ความเร็วรอบสูง • Pressuredrop ในระบบมีผลกระทบต่อการทำงาน • ดูแลยุ่งยากเกี่ยวกับระบบหล่อลื่น • อายุการใช้งานยาว • Smoothflow • Gas ไม่ปนเปื้อนกับ Oil • ให้อัตราการไหลกว้าง TEXT TEXT
Positive Displacement 1.Reciprocating มีลักษณะดังนี้ • เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ • พลังงานขับด้วย เครื่องยนต์ , Motor • ขับเพลาข้อเหวี่ยง พาก้านลูกสูบดึงลูกสูบเคลื่อนที่เป็นจังหวะ ดูด - อัด • อัดความดันได้สูงๆ ด้วยการเพิ่ม Stage
ลักษณะการทำงาน Horizontal Type www.themegallery.com
ทางเข้า ทางจ่าย 2. Rotary แบ่งเป็น 3 แบบ 2.1 Rootโดยมีพู 2 อันหมุนขบกันด้วยความเร็วเท่ากัน ด้านปลายของพูจะหมุนเกือบสัมผัสกับผนังเครื่องอัด คอมเพรสเซอร์แบบใบพัดหมุน www.themegallery.com
2. Rotary ส่วนประกอบหลักของ Roots blower 1. Housing and end plate 2.Impeller 4.Bearing 3. Shaft 5. Timing gear ทางเข้า ทางจ่าย www.themegallery.com
2. Rotary 2.2 Rotaryvane มีลักษณะดังนี้ • มีใบพัดที่มีปลายเลื่อนได้ ติดอยู่กับ Rotor • แกนเพลา Rotor ติดตั้งเยื้องศูนย์ • ช่องเวนหมุนดูด gas เข้าเต็มช่องแล้วหมุนต่อไปช่องเวนจะถูกอัดให้เล็กลง จนกระทั่งหมุนไปถึงท่อปล่อย gas ที่มีความดัน และ อุณหภูมิสูงออกไป www.themegallery.com
2. Rotary 2.3 Screw มีลักษณะดังนี้ • มีเพลาอยู่ 2 แกน • Screw วางขบกันหมุนเข้าหากัน • ช่อง Screw ประกบกันหมุนแล้วเกิดการ ดูด - อัด gas ส่งไปสู่ทางออก คอมเพรสเซอร์แบบสกรู www.themegallery.com
2. Rotary 2.3 Screw Compressorมีการทำงาน ข้อดี ข้อเสีย • ไม่มี Valve ภายในตัว • ใช้ได้กับ Gas ที่ควบแน่นได้ • ให้ปริมาตรคงที่ • Gas ไม่ปนเปือนOil • ให้ปริมาตรและความดันในช่วงแคบ • LowpressureLowcapacity • ไม่เหมาะกับ corrosivegas • ให้อัตราส่วนการอัดต่ำ www.themegallery.com
TK-218 TK-217 E-210 E-250 B2 B1 E-211 P3 B3 P1 E-214 P2 E-213 E-212
Loop Control Booster PIC XX PIC PT PT Po TO 1rd STG 2rd STG 3rd STG Cooler Cooler Cooler PT PIC
Secondary Compressor
Gas Gas E-216 D/C Gas Gas Gas Gas Gas Gas Gas Gas Gas 2D 2C 1A Gas E-215 C/D 2A 2B 1B Gas Gas Gas Gas Gas E-216 A/B Gas Gas Gas E-215 B/A Gas
Loop Control Primary PIC XX PIC PT PT Po TO 1rd STG 2rd STG 3rd STG Cooler Cooler Cooler PT PIC Heater
สรุปเรื่องคอมเพรสเซอร์สรุปเรื่องคอมเพรสเซอร์ • 1.1 พัดลมเป่าอากาศ (Fan) ขนาดแรงดันไม่ถึง 0.03 Bar • 1.2 เครื่องเป่าลม (Blower) ขนาดแรงดันระหว่าง 0.03 - 3 Bar • 1.3 คอมเพรสเซอร์(Compressor) ขนาดแรงดันสูงกว่า 3 Bar • แบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal) • แบบไดนามิกส์ (Dynamics)