1 / 66

การวิจัยในชั้นเรียน

การวิจัยในชั้นเรียน. ความหมายของการวิจัย. กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบคำถามหรือปัญหาที่มีอยู่อย่างเป็นระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research).

Download Presentation

การวิจัยในชั้นเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยในชั้นเรียน

  2. ความหมายของการวิจัย กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบคำถามหรือปัญหาที่มีอยู่อย่างเป็นระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน

  3. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) กระบวนการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อตอบคำถาม (ปัญหา) ที่เกี่ยวข้องกับภาระงานที่ปฏิบัติอยู่ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาคุณภาพของงานที่ กำลังปฏิบัติอยู่ และผู้วิจัยคือผู้ปฏิบัติงาน

  4. การวิจัยปฏิบัติการในห้องเรียน (Classroom Action Research) กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนอย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยมีกระบวนการการทำงานอย่างต่อเนื่อง

  5. มีการวางแผนหลังจากที่มีการกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการปรับปรุงแก้ไขมีการวางแผนหลังจากที่มีการกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการปรับปรุงแก้ไข ลงมือปฏิบัติตามแผนที่กำหนด สังเกตผลที่เกิดขึ้น สะท้อนผลหลังจากลงมือปฏิบัติ ถ้ายังมีประเด็นที่ต้องการแก้ไขปรับปรุงอยู่ ก็ดำเนินการวางแผน ลงมือปฏิบัติ สังเกตและสะท้อนผลเป็นวงจรต่อไปเรื่อย ๆ จน บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ และผู้วิจัย คือ ผู้สอน

  6. จนบรรลุเป้าหมาย วงจรของ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สะท้อนผล กำหนดเป้าหมาย สังเกต ปรับแผน วงจรที่ 2 วางแผน ปฏิบัติ สะท้อนผล ปฏิบัติ วงจรที่ 1 สังเกต

  7. วิจัยแผ่นเดียว คืออะไร ? การวิจัยในชั้นเรียน โดยผู้ทำการวิจัยคือครูผู้สอนที่มุ่งจะ แก้ปัญหา หรือ พัฒนากระบวนการเรียนการสอน หรือพัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อม ด้านองค์ความรู้ สติปัญญา จิตใจ คุณธรรม จริยธรรม และทักษะ

  8. ลักษณะของการวิจัยแผ่นเดียวลักษณะของการวิจัยแผ่นเดียว  เป็นการวิจัยที่ครูทำในงานการจัดการเรียนรู้ แก้ปัญหา/พัฒนา  เป็นการวิจัยเรื่องที่มีขอบเขตเล็ก ๆ ใช้เวลาน้อย มีกระบวนการไม่ซับซ้อน  เป็นการวิจัยที่เขียนรายงานวิจัยเพียงไม่กี่หน้า

  9. ขั้นที่ 1 กำหนดประเด็นของการแก้ปัญหา/การพัฒนา ขั้นที่ 2 กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการวิจัย ขั้นที่ 3 ศึกษาแนวทางปฏิบัติเพื่อกำหนดทางเลือก ขั้นที่ 4 วางแผนการวิจัย ขั้นที่ 5 ปฏิบัติตามแผนและรวบรวมข้อมูล

  10. ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นที่ 7 สะท้อนผลการวิจัย ขั้นที่ 8 ศึกษาแนวทางปฏิบัติเพื่อกำหนดทางเลือก สามารถแก้ไขปัญหาได้ ขั้นที่ 9 แลกเปลี่ยนข้อค้นพบกับผู้อื่นหรือเผยแพร่ผลงาน

  11. ขั้นที่ 1 กำหนดประเด็นของการแก้ปัญหา/การพัฒนา  เป็นการกำหนดประเด็นที่ต้องการคำตอบ หรือคำอธิบาย หรือข้อสรุป โดยใช้กระบวนการวิจัย  สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นหลัก1) ประเด็นที่ต้องการพัฒนา 2) ประเด็นที่ต้องการแก้ปัญหา

  12. การกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการพัฒนาการกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการพัฒนา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนต่ำ ผู้เรียนขาดความรับผิดชอบ ปัญหาในการเรียนการสอน ผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ผู้เรียนขาดความซื่อสัตย์

  13. การวิเคราะห์ปัญหา กิจกรรมไม่สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน วิธีสอนของครูผู้สอนไม่เหมาะสม ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ สื่อการเรียนการสอนไม่น่าสนใจ ปัญหาพฤติกรรมของผู้เรียน

  14. ปรับเปลี่ยนกิจกรรม การเรียนการสอน ปรับเปลี่ยนวิธีสอนของครูผู้สอน ทางเลือกในการแก้ปัญหา พัฒนาสื่อการเรียน การสอน ปรับพฤติกรรมของผู้เรียน

  15. ตัวอย่างปัญหาที่ต้องการแก้ไขตัวอย่างปัญหาที่ต้องการแก้ไข  นศ. ปวส. ที่เรียนวิชา........มีผลการเรียนต่ำ  นศ. ปวช. มีผลการเรียนต่ำในเรื่อง..........  นศ. ปวช. ขาดความรับผิดชอบในการเรียนวิชา...............  นศ. ปวส. มีปัญหาการพิมพ์งานช่วงการเรียนการใช้โปรแกรม........

  16. ตัวอย่างปัญหาที่ต้องการพัฒนาตัวอย่างปัญหาที่ต้องการพัฒนา  การใช้นวัตกรรมใหม่จะช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของนศ. หรือไม่  แนวทางใดที่ช่วยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่นศ.

  17. ปัญหาการวิจัย หัวข้อวิจัย(ชื่อเรื่อง) คำถามวิจัย

  18. ประเด็นปัญหา นศ. ปวช. มีผลการเรียนต่ำในเรื่อง............. คำถามการวิจัย การใช้...สื่อ..................จะช่วยให้นศ. ปวช. มีผลการเรียนดีขึ้นในเรื่อง..............หรือไม่ หัวข้อวิจัย (ชื่อเรื่อง) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง........วิชา..................โดยใช้... ..........สื่อ........................

  19. ขั้นที่ 2 การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการวิจัย การกำหนดวัตถุประสงค์ เป็นการระบุว่าครูต้องการทำอะไรเพื่อแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนา การกำหนดเป้าหมายเป็นผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย หรือจุดหมายปลายทางว่าครูต้องการให้เป็นอย่างไร

  20. หัวข้อวิจัย (ชื่อเรื่อง)การปรับพฤติกรรมนักศึกษาขาดความ รับผิดชอบในการเรียนวิชา โดยการ สอนแบบ.......................................... วัถตุประสงค์ เพื่อปรับพฤติกรรมของนศ. ปวช. ด้านความ รับผิดชอบในการเรียนวิชา.............................. เป้าหมาย นศ. ปวช. มีความรับผิดชอบในการเรียน วิชาเพิ่มขึ้น

  21. หัวข้อวิจัย (ชื่อเรื่อง) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาปวช. ที่เรียนเรื่อง.................. วิชา..................โดยใช้.....สื่อ................ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้...สื่อ.............ในเรื่อง............. วิชา................ของนักศึกษาปวช. เป้าหมาย นักศึกษาทุกคนที่เรียนเรื่อง........วิชา................ มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60

  22. ขั้นที่ 3 การศึกษาแนวทางปฏิบัติเพื่อกำหนดทางเลือก ได้ประเด็นที่ต้องการแก้ไข หรือต้องการพัฒนา ครูต้องสืบค้นข้อมูลเพื่อช่วยในการกำหนดแนวทางปฏิบัติ ได้จากการอ่านเอกสารต่าง ๆ เช่น ตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ วารสาร หนังสือพิมพ์ เอกสารการสัมมนา/ประชุมวิชาการ ฯลฯ

  23. กำหนดทางเลือก ศึกษาวิธีการ/เครื่องมือต่าง ๆ พิจารณาเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม

  24. ขั้นที่ 4 การวางแผนการวิจัย วิธีการ ระบุรายละเอียด จะดำเนินการวิจัยกับใคร ที่ไหน จะเก็บข้อมูลอะไร เก็บข้อมูลอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไร

  25. วางแผน การวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติอะไร เครื่องมือที่ใช้แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสังเกต อื่น ๆ แผนการดำเนินงาน จะทำอะไร เมื่อไร

  26. วิธีการวิจัยในชั้นเรียนวิธีการวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยเชิงทดลอง - การวิจัยโดยใช้กลุ่มเดียว - การวิจัยโดยใช้กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง การวิจัยเชิงบรรยาย

  27. การวิจัยโดยใช้กลุ่มเดียวการวิจัยโดยใช้กลุ่มเดียว เป็นการวิจัยที่กระทำกับนักศึกษาเพียงกลุ่มเดียวหรือห้องเดียว

  28. การวิจัยโดยใช้กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองการวิจัยโดยใช้กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง เป็นการวิจัยที่กระทำกับนักศึกษาเสองกลุ่มหรือสองห้อง

  29. การวิจัยเชิงบรรยาย คือ การวิจัยที่มุ่งศึกษาให้ได้ความจริงของสภาพการณ์ที่ เป็นอยู่ โดยผู้วิจัยไม่ได้กระทำอะไรที่จะเป็นผลให้สภาพการณ์นั้นแตกต่างออกไป จะทำให้ได้ข้อมูลและข้อสรุปว่าอะไรเป็นอะไร โดยทั่วไป เป็นการวิจัยที่ใช้ในการสำรวจเพื่อหาข้อมูล เครื่องมือเป็นแบบสอบถามระดับความคิดเห็น หรือ ระดับการปฏิบัติของนักศึกษาที่มีลักษณะเป็นมาตรส่วนประมาณค่า

  30. ขั้นที่ 5 ปฏิบัติตามแผนและรวบรวมข้อมูล เป็นการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ควบคู่ไปกับการเก็บรวบรวมข้อมูล สิ่งต้องตระหนักทุกสิ่งที่ปฏิบัติและแสดงออกขณะปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผน อาจจะส่งผลต่อการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหา เช่น ท่าที วาจา ความลำเอียง

  31. สิ่งต้องตระหนักในการรวบรวมข้อมูลสิ่งต้องตระหนักในการรวบรวมข้อมูล  ความชัดเจนในการปฏิบัติ ช่วยให้บันทึกได้ตรง  ความชัดเจนในสิ่งที่ต้องรวบรวม ช่วยให้รวบรวมข้อมูลได้ครบถ้วน การเตรียมพร้อมทั้งตัวผู้รวบรวมและเครื่องมือที่ใช้รวบรวม  ควรบันทึกหลังสอนทุกครั้งอย่างละเอียด

  32. ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยโดยใช้กลุ่มเดียว การวิจัยใช้กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (ค่าร้อยละ ความถี่) สถิติที่ใช้ทดสอบ ค่า t-test (ใช้คนละสูตรกัน)

  33. ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้วิเคราะห์ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ทดสอบ ค่า t-test (ถ้าต้องการทดสอบ)

  34. สะท้อนผล ขั้นที่ 7 สะท้อนผล  เป็นการพิจารณาผล การปฏิบัติจากข้อมูล  เป็นการสะท้อนไปสู่การ ปรับปรุง หรือเป็นการ ทำซ้ำเพื่อยืนยันผล

  35. ขั้นที่ 7 สะท้อนผล นำผลการวิจัยมาพิจารณาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย  ถ้าเป็นไปตามเป้าหมาย ก็สรุปผลการวิจัย  ถ้าไม่เป็นไปตามเป้าหมาย - ต้องปรับแผนการดำเนินงานใหม่ - ปฏิบัติตามแผนที่ปรับปรุง รวบรวมข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล - นำผลมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายอีกครั้ง

  36. จนบรรลุเป้าหมาย วงจรของ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สะท้อนผล กำหนดเป้าหมาย สังเกต ปรับแผน วงจรที่ 2 วางแผน ปฏิบัติ สะท้อนผล ปฏิบัติ วงจรที่ 1 สังเกต

  37. ขั้นที่ 8 สรุปผลและเขียนรายงานการวิจัย รายงานการวิจัย 8-10 หน้า ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ความเป็นมาของการวิจัย วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง

  38. ขั้นที่ 9 แลกเปลี่ยนข้อค้นพบกับผู้อื่นหรือ เผยแพร่ผลงาน  นำผลงานเสนอต่อที่ประชุมสัมมนา  แลกเปลี่ยนข้อค้นพบซึ่งกันและกัน ได้มองเห็นแนวทางการวิจัยเพิ่มขึ้น

  39. ข้อผิดพลาดของ การวิจัยในชั้นเรียน

  40. ขั้นของการกำหนดวัตถุประสงค์และ เป้าหมายในการวิจัย  ไม่รู้ว่าวัตถุประสงค์คืออะไร  ไม่รู้ว่าทำไมต้องทำ  ไม่มีการกำหนดเป้าหมาย

  41. ขั้นของการตรวจสอบเอกสารขั้นของการตรวจสอบเอกสาร  ไม่ตรวจสอบเอกสารจากแหล่งปฐมภูมิ  ตรวจสอบเอกสารเฉาะภาษาไทย  เอกสารที่ตรวจสอบไม่เกี่ยวข้องโดยตรง  ไม่จัดทำบัตรบรรณานุกรม

  42. ขั้นของการสร้างเครื่องมือขั้นของการสร้างเครื่องมือ  ไม่มีการหาประสิทธิภาพ  วิธีการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ ไม่เหมาะสม  เครื่องมือที่สร้างขึ้นนั้นไม่มีคุณภาพ

  43. ขั้นของการรวบรวมข้อมูลขั้นของการรวบรวมข้อมูล  มุ่งรวบรวมข้อมูลในเชิงปริมาณ ขั้นของการวิเคราะห์ข้อมูล  ใช้สถิติไม่เหมาะสมกับชนิดของข้อมูล และวัตถุประสงค์ของการวิจัย

  44. กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง อนุมานสถิติ พรรณาสถิติ การประมาณค่า ค่าพารามิเตอร์ ค่าสถิติ การทดสอบสมมติฐาน X และ S.D. และ

  45. ขั้นของการเขียนรายงาน : บทคัดย่อ  ไม่นำประเด็นที่สำคัญมาใส่ในบทคัดย่อ  วัตถุประสงค์และผลของการวิจัยไม่สอดคล้องกัน

  46. การเขียนผลการวิจัยและวิจารณ์การเขียนผลการวิจัยและวิจารณ์  นำเสนอแต่ข้อมูลเชิงปริมาณ  ไม่แปลความหมายตาราง แต่อ่านตัวเลขจากตาราง  แปลความหมายผิด  วิจารณ์ผลการวิจัยไม่เป็น นำผลการวิจัยมาเขียนซ้ำ  ไม่ใช้ประโยชน์ของข้อมูลพื้นฐานหรือเอกสารที่ตรวจสอบมา

  47. การเขียนข้อเสนอแนะ  เสนอแนะตามทฤษฎี ไม่เสนอแนะตามผลการวิจัย (ตามข้อค้นพบ)  เขียนรายงานการวิจัยเพียงหน้าเดียว

  48. วิจัยในชั้นเรียนไม่ยากเข็ญวิจัยในชั้นเรียนไม่ยากเข็ญ ไม่ยากเย็นดั่งคิดจิตรที่หมาย ถ้าตั้งใจจะทำนำร่างกาย สู่เป้าหมายเด็กไทยได้พัฒนา

  49. ค่าเฉลี่ย ( Mean ; X ) X X = n X เมื่อ = ค่าเฉลี่ย X= คะแนนดิบ X= ผลรวมของคะแนนดิบ n= จำนวนนักศึกษา

  50. การใช้ค่าเฉลี่ย (X ) ใช้เพื่อตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาว่า อยู่ในระดับใดเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม

More Related