1 / 62

การบริหารจัดการวัคซีนในพื้นที่ สปสช.เขต ๕ ราชบุรี

การบริหารจัดการวัคซีนในพื้นที่ สปสช.เขต ๕ ราชบุรี. ภญ.ปรางวไล เหล่าชัย สปสช.เขต ๕ ราชบุรี. แนวทางการติดตามประเมินผลโครงการควบคุมคุณภาพระบบลูกโซ่ความเย็นด้วย COMPUTERIZED DATA LOGGER. ความเป็นมา.

kiefer
Download Presentation

การบริหารจัดการวัคซีนในพื้นที่ สปสช.เขต ๕ ราชบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการวัคซีนในพื้นที่ สปสช.เขต ๕ ราชบุรี ภญ.ปรางวไล เหล่าชัย สปสช.เขต ๕ ราชบุรี

  2. แนวทางการติดตามประเมินผลโครงการควบคุมคุณภาพระบบลูกโซ่ความเย็นด้วย COMPUTERIZED DATA LOGGER

  3. ความเป็นมา • 12 ต.ค. 52 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีมติเห็นชอบให้กระจายวัคซีน EPI ผ่านระบบ VMI ขององค์การเภสัชกรรม • ปัจจุบันมีหน่วยบริการที่ใช้ระบบ VMI ในการเบิกวัคซีนรวมทั้งหมด 1,030 แห่ง • สปสช.สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการควบคุมคุณภาพระบบลูกโซ่ความเย็นด้วย Computerized Data Logger • องค์การเภสัชกรรม ร่วมกับ สปสช. จัดอบรมวิธีการใช้ Computerized Data Logger และแนวทางการติดตามประเมินผลให้แก่หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการทั้ง 4 ภาค

  4. เป้าประสงค์

  5. Customer

  6. การกระจายวัคซีน 7

  7. CUP เทพสถิต จ.ชัยภูมิ

  8. CUP เทพสถิต จ.ชัยภูมิ(ต่อ) จากการศึกษาติดตามอุณหภูมิการขนส่งวัคซีนไปฉีดให้กับกลุ่มเป้าหมายของหน่วยบริการปฐมภูมิ พบว่าอุณหภูมิต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส เนื่องจากหน่วยบริการปฐมภูมิทั้ง 10 แห่งมีพฤติกรรมการเตรียมวัคซีน แบบบรรจุวัคซีนพร้อมกับไอซ์แพคจำนวน 4 อัน โดยไม่รอให้ไอซ์แพคมีหยดน้ำเกาะก่อน ทำให้อุณหภูมิในภาชนะบรรจุต่ำกว่าช่วงที่กำหนด ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้วัคซีนที่มีความไวต่อความเย็นเกิดการสูญเสียหรือลดประสิทธิภาพได้ สำหรับปัจจัยอื่น ที่มีผลต่ออุณหภูมิภายในกระติกวัคซีน คือ สภาพอากาศจากภายนอก จำนวนไอซ์แพคและการเปิดฝากระติกวัคซีนเป็นเวลานาน

  9. ข้อตกลงเบื้องต้นในการดำเนินงานข้อตกลงเบื้องต้นในการดำเนินงาน • เพื่อเป็นการป้องกันปัจจัยรบกวนอันเกิดจากการจัดเก็บวัคซีนในตู้เย็น การบรรจุวัคซีนลงในกระติก และการขนส่งวัคซีนไปให้บริการ • ก่อนที่จะเริ่มเก็บข้อมูล หน่วยบริการต้องมีการปรับวิธีการจัดเก็บวัคซีน การบรรจุวัคซีนลงในกระติก และการขนส่งวัคซีน ให้เป็นไปตามข้อกำหนดในเอกสาร “คู่มือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นปี 2554 Part2” • รายละเอียดเอกสาร“ศิริรัตน์ เตชะธวัช และคณะ. 2554. คู่มือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นปี 2554 Part 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. ศรีเมืองการพิมพ์. กรุงเทพ.”

  10. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาอุณหภูมิการจัดเก็บวัคซีน ในตู้เย็นของ CUP และ PCU • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิการจัดเก็บวัคซีนในตู้เย็น และปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิการจัดเก็บวัคซีน เช่น ประเภทของตู้เย็น อายุการใช้งานของตู้เย็น ฤดูกาล ไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย เป็นต้น • เพื่อศึกษาอุณหภูมิในการขนส่งวัคซีนจาก CUP ไปยัง PCU และอุณหภูมิในการจัดเก็บหรือขนส่งวัคซีนจาก PCU ไปยังผู้รับบริการทั้งในและนอกสถานที่

  11. วัตถุประสงค์ (ต่อ) • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิในการจัดเก็บวัคซีนตลอดระยะเวลาการขนส่งวัคซีน และปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิในการขนส่งวัคซีน ได้แก่ ประเภทของอุปกรณ์ในการขนส่งวัคซีน ระยะทางในการขนส่งวัคซีน ระยะเวลาการขนส่งวัคซีน ฤดูกาล • เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บวัคซีน ในตู้เย็นของหน่วยบริการประจำและหน่วยบริการปฐมภูมิให้มีประสิทธิภาพ • เพื่อพัฒนาระบบการขนส่งวัคซีนจากหน่วยบริการประจำ ไปยังหน่วยบริการปฐมภูมิ และอุณหภูมิการขนส่งวัคซีนจากหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังผู้รับบริการทั้งในและนอกสถานบริการ

  12. รายละเอียดการดำเนินการรายละเอียดการดำเนินการ • ขอบเขตการติดตามอุณหภูมิ ติดตามอุณหภูมิการขนส่งและการจัดเก็บวัคซีน ตั้งแต่หน่วยบริการประจำรับวัคซีนจากองค์การเภสัชกรรม จนถึงการให้บริการวัคซีนของหน่วยบริการปฐมภูมิแก่กลุ่มเป้าหมายทั้งในและนอกสถานบริการ • กลุ่มเป้าหมายในการติดตามอุณหภูมิ : หน่วยบริการประจำ และหน่วยบริการปฐมภูมิ • ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 3 ช่วง ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว โดยเก็บข้อมูลฤดูละ 1-2 เดือน

  13. ประเภทวัคซีนที่ใช้ DTP-HB • The HBsAg antigen MUST remain bonded to the alum adjuvant to confer protection against hepatitis B. This bond is broken by freezing, therefore… • “…Hepatitis B vaccine completely loses its immunological potency upon freezing or freeze-drying.”* *Diminsky, D.; Moav, N.; Gorecki, M.; Barenholz, Y. Physical, chemical and immunological stability of CHO-derived hepatitis B surface antigen (HBsAg) particles. Vaccine18 (2000).

  14. เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามอุณหภูมิ LogTag Trix-8 • มี Sensor วัดและ บันทึกอูณหภูมิในช่วง - 40 oC ถึง +85 oC • ตั้งค่าการทำงานให้วัดและบันทึกอุณหภูมิทุก 20 นาที • ตั้ง Alert (red) indicator ให้มีสัญญาณไฟกระพริบสีแดง ในกรณีที่พบอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และสูงกว่า 8 องศาเซลเซลเซียสและให้ยกเลิกการแสดงสัญญาณไฟกระพริบสีแดงเมื่ออุณหภูมิกลับเข้าสู่ภาวะปกติ • แสดงผลเป็นกราฟ/วัน/เวลา/อุณหภูมิที่บันทึกและข้อมูลทางสถิติ ทั้งนี้ให้แสดงผลการบันทึกอุณหภูมิเป็นองศาเซลเซียส

  15. รูปแบบการวาง LogTag Trix-8 ถุงพลาสติกบรรจุ Log Tag คู่กับวัคซีน DTP-HB ที่ปิดสนิทป้องกันน้ำได้ วัคซีน DTP-HB

  16. การเดินทางของวัคซีน

  17. CUP รับวัคซีนจาก GPO CUP หยุดการบันทึกเวลา ของ Data Logger CUP จัดเก็บเข้าตู้เย็น PCU นำ Data Logger ใส่ใน กระติกเปล่าเพื่อมารับวัคซีนจาก CUP CUP จัดเตรียมวัคซีน ให้แก่ PCU PCU จัดเก็บ Data Logger ไว้ในตู้เย็น PCU มารับวัคซีน PCU สิ้นสุดการให้บริการวัคซีน แก่กลุ่มเป้าหมาย PCU จัดเก็บวัคซีนเข้าตู้เย็น PCU เริ่มให้บริการวัคซีนแก่ กลุ่มเป้าหมายในและนอกสถานที่ PCU จัดเตรียมวัคซีน เพื่อให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย

  18. แบบฟอร์มในการเก็บข้อมูลแบบฟอร์มในการเก็บข้อมูล • แบบฟอร์มที่ 1 เก็บข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิการจัดเก็บและขนส่งวัคซีนของหน่วยบริการ • แบบฟอร์มที่ 2 เก็บข้อมูลวันเดือนปี และเวลาของการรับ จัดเก็บ การจ่าย และการขนส่งวัคซีนของหน่วยบริการประจำ/หน่วยบริการปฐมภูมิ

  19. ข้อตกลงเบื้องต้นในการเก็บข้อมูลข้อตกลงเบื้องต้นในการเก็บข้อมูล • เพื่อเป็นการป้องกันปัจจัยรบกวนอันเกิดจากการจัดเก็บวัคซีนในตู้เย็น การบรรจุวัคซีนลงในกระติก และการขนส่งวัคซีนไปให้บริการ • ก่อนที่จะเริ่มเก็บข้อมูล หน่วยบริการต้องมีการปรับวิธีการจัดเก็บวัคซีน การบรรจุวัคซีนลงในกระติก และการขนส่งวัคซีน ให้เป็นไปตามข้อกำหนดในเอกสาร “คู่มือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นปี 2554 Part2” • รายละเอียดเอกสาร“ศิริรัตน์ เตชะธวัช และคณะ. 2554. คู่มือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นปี 2554 Part 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. ศรีเมืองการพิมพ์. กรุงเทพ.”

  20. การตั้งชื่อไฟล์ข้อมูลเพื่อส่งให้สสจ.และสปสช.เขตการตั้งชื่อไฟล์ข้อมูลเพื่อส่งให้สสจ.และสปสช.เขต • เพื่อให้การจัดเก็บไฟล์ข้อมูลมีความเป็นระเบียบและสามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว หน่วยบริการจึงควรตั้งชื่อไฟล์ข้อมูลตามแนวทางดังต่อไปนี้ AAAAABBBBB_MMYY 1071305811_0654 AAAAAหมายถึง รหัสหน่วยบริการประจำ 5 หลัก เช่น 10713 BBBBB หมายถึง รหัสหน่วยบริการปฐมภูมิ 5 หลัก เช่น 05811 MMYYหมายถึง เดือนและปีที่ส่งข้อมูลให้ เช่น เดือนมิถุนายน 54 จะออกรหัสเป็น 0654

  21. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  22. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

  23. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

  24. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

  25. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

  26. หน่วยบริการสามารถสามารถส่งข้อมูลให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต ทาง Email

  27. ผู้แทนสปสช.เขต (ต่อ)

  28. การเกิด cold chain breakdown เนื่องด้วยผมได้รับหนังสือ สธ.0915.03/669 ลว 2 มี.ค. 54 เรื่องการขอเบิกทดแทนวัคซีนในระบบ VMI เนื่องจากกระแสไฟฟ้าในคลัีงเวลภัณฑ์ดับ เกินมาตรฐานการจัดเก็บวัคซีนที่กำหนดไว้ ผมมีคำแนะนำเบื้องต้นดังนี้ครับ 1. จากแนวทางการบริหารจัดการวัคซีนกรณีเกิดปัญหาระบบลูกโซ่ความเย็นล้มเหลว (Cold Chain Breakdown) ระบุว่ากรณีอุณหภูมิที่จัดเก็บวัคซีนในตู้เย็นช่องธรรมดาต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส หรือ สูงกว่า 8 องศาเซลเซียส ให้ดำเนินการดังนี้ 1.1 อย่าทำลายวัคซีนในทันที 1.2 ถ้าอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส ให้ตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของวัคซีนที่ไวต่อความเย็นจัดโดยการทำ Shake test 1.3 โทรศัพท์เพื่อขอรับคำแนะนำเรื่องความคงตัวของวัคซีนจากกลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ หรือ กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 2 สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค และ FAX หรือ Email แบบรายงานเหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น (ภาคผนวกที่ 5) ประกอบการพิจารณา กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ : โทรศัพท์ : 02-590-3222, 02-590-3364-5 โทรสาร 02-591-7716 Email : pharmgcd@yahoo.com กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 2 : โทรศัพท์ : 02-590-3198-9 โทรสาร 02-965-9152 Email : epithailand@yahoo.com

  29. การเกิด cold chain breakdown 1.4 ในกรณีที่สำนักโรคติดต่อทั่วไป มีความเห็นให้ใช้วัคซีนดังกล่าวต่อไปได้ ให้ทำฉลากระบุว่า วัคซีนชุดนี้ผ่านเหตุการณ์ Cold Chain Breakdown มาแล้ว ให้รีบใช้ก่อน 1.5 ในกรณีที่สำนักโรคติดต่อทั่วไป มีความเห็นให้ยกเลิกใช้วัคซีนดังกล่าวให้เภสัชกรบันทึกข้อมูลชื่อวัคซีน ชื่อผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณวัคซีน และวันหมดอายุ และทำหนังสือแจ้งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อขอชดเชยวัคซีนต่อไป (ซึ่งพี่ได้ทำมาแล้ว) 1.6 คลังวัคซีน/หน่วยบริการทำลายวัคซีน ตามแนวทางการทำลายวัคซีนของหนังสือ คู่มือบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น พ.ศ. 2547 2. ในกรณีนี้พี่มีทางเลือกอยู่ 2 ทางครับคือ 2.1 ดูข้อมูล Stability ของวัคซีน ตามแนวทางของ WHO และตัดสินใจได้เลยว่าจะใช้วัคซีนต่อหรือไม่ 2.2 ถ้าไม่มั่นใจสามารถปรึกษากรมได้ตามแบบฟอร์มภาคผนวก 5 ที่ส่งให้ครับ 3. ถ้ากรมควบคุมโรคตัดสินใจแล้วว่าให้ทิ้งวัคซีนทั้งหมดรบกวนพี่แจ้งผมกลับมาครับ ผมจะแจ้งให้ GPO ชดเชยวัคซีนให้หน่วยบริการภายในวันนี้ครับ

  30. แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนกรณีมีการเสียชีวิต/อาการรุนแรงภายหลังได้รับวัคซีนแนวทางการบริหารจัดการวัคซีนกรณีมีการเสียชีวิต/อาการรุนแรงภายหลังได้รับวัคซีน 1.การระงับใช้วัคซีนชั่วคราวเนื่องจากเกิดการเสียชีวิต/อาการรุนแรงภายหลังได้รับวัคซีนเฉพาะจังหวัด 2.การระงับใช้วัคซีนชั่วคราวเนื่องจากเกิดการเสียชีวิต/อาการรุนแรงภายหลังได้รับวัคซีนทั่วประเทศ 3.การระงับใช้วัคซีนถาวรเนื่องจากเกิดการเสียชีวิต/อาการรุนแรงภายหลังได้รับวัคซีนทั่วประเทศ

  31. สรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนชั่วคราวเฉพาะจังหวัดสรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนชั่วคราวเฉพาะจังหวัด สรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนชั่วคราวเฉพาะจังหวัด

  32. สรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนชั่วคราวทั่วประเทศสรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนชั่วคราวทั่วประเทศ

  33. สรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนถาวรทั่วประเทศสรุปขั้นตอนกรณีระงับใช้วัคซีนถาวรทั่วประเทศ

  34. การดำเนินงานที่ผ่านมาการดำเนินงานที่ผ่านมา

  35. วิศวกรรมความเย็น (ส่วนตู้เย็น)ในระบบลูกโซ่ความเย็น (Cold Chain)) โดย ภก.เกียรติศักดิ์ จรรยาวิลาส ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ชาร์ป ไทย จำกัด

  36. การวางขวดวัคซีนในตู้เย็นการวางขวดวัคซีนในตู้เย็น ตำแหน่งตรงกลางตู้ ดีที่สุด ไม่ใช่ ช่องแช่แข็ง หรือ ถาดใต้ช่องแช่แข็ง ไม่ใช่ ต่ำสุดของช่องแช่เย็น ไม่ใช่ ด้านในของประตูตู้ วางขวดเรียงแบบแถวทหาร มาใหม่ ชิดใน ตรวจสอบอุณหภูมิ เช้าเย็น

  37. การวางตู้เย็นในห้อง อยู่ที่แดดส่องไม่ถึง ส่วนที่เย็นที่สุด วางตู้ให้ได้แนวระดับตรง ยืนบนขาตั้ง เสียบปลั๊กไฟให้แน่น ปลั๊กได้มาตรฐาน มอก. ห่างจากฝาผนัง 60 มม.(ด้านข้าง/หลัง) 90 มม.(ด้านบน)

  38. การใช้งานตู้เย็น ทำความสะอาดตลอด ไม่มีฝุ่น หยักใย่ ตรวจสอบขอบยางประตู ไม่เสื่อมสภาพ น้ำแข็งเกาะไม่เกินกว่า 5 มม. ไม่เก็บอาหาร ยา ที่ต้องเปิดใช้บ่อยๆ ตรวจสอบอุณหภูมิตรงกลางช่องแช่เย็น ให้ได้ 2-8 องศาเซสเซียส สำรองถุงน้ำแข็งในช่องแช่แข็ง 5 คิว จำนวน 4 ถุง 5-10 คิว จำนวน 8 ถุง 10 คิว จำนวน 16 ถุง

  39. ปัญหาการใช้ตู้เย็นทั่วไปปัญหาการใช้ตู้เย็นทั่วไป

More Related