350 likes | 479 Views
การป้องกันและควบคุมโรค. จังหวัดนครศรีธรรมราช. พญ.อุทุมพร กำภู ณ อยุธยา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช 14มี.ค.57. จังหวัดทำอะไร. ชี้นำ เชื่อมโยง สั่งและสอน : ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย ใช้เครื่องมือให้ถูก กุมสภาพ : ข้อมูล เติมเต็ม. ตติยภูมิ
E N D
การป้องกันและควบคุมโรคการป้องกันและควบคุมโรค จังหวัดนครศรีธรรมราช พญ.อุทุมพร กำภู ณ อยุธยา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช 14มี.ค.57
จังหวัดทำอะไร ชี้นำ เชื่อมโยง สั่งและสอน : ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย ใช้เครื่องมือให้ถูก กุมสภาพ: ข้อมูล เติมเต็ม
ตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม บริการสุขภาพ • ส่งเสริมสุขภาพ • ป้องกันโรค • รักษาพยาบาล • ฟื้นฟูสมรรถภาพ คุณภาพ ประสิทธิภาพ คุ้มค่า องค์รวม ผสมผสาน ต่อเนื่อง มีส่วนร่วม Catchment area/Target population/Service package
ระบบงาน ระบบข้อมูล ระบบเงิน
Catchment Area Target Group Service Package
Service Plan แผนเพื่อพัฒนาของศักยภาพในการให้บริการของหน่วยบริการและเครือข่าย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขของแต่ละพื้นที่ได้
Provincial health system Service Plan District health system อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง
Service Plan Fast tract 1’ry 2’ry 3’ry
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ระบบสุขภาพดีดี ที่อยากให้เกิด • บริการอะไรบ้างที่จะต้องจัดให้มี • ใครต้องทำบ้าง • ทำแล้ว สุขภาพดีดี เกิดจริงไหม istrict DHS ealth ystem
High alert case ( HAC ) • High alert time ( HAT ) • High alert drug ( HAD ) • Medical record • ฝึกภาษากาย ภาษาพูด ภาษาเขียน • ขยันพูด อธิบาย ให้ข้อมูล ผู้ป่วยและญาติ ผลการตรวจ ผลการวินิจฉัย วิธีการรักษา แผนการรักษา ผลการรักษา ....
High Alert Case • Fever – DHF • Hyperventilation syndrome presentation DKA - Dead • High risk pregnancy • …….etc
ปัญหา มักเกิดวันหยุด บ่าย ดึก สั่ง Lab แล้วต้องดู ต้องอธิบาย +High touch Doctor Patient Relationship ผู้ป่วยขอนอนเวรดึก ให้นอนไว้ก่อน
รักษาระดับ ยกระดับ
เติมเต็มอะไรบ้าง คนทำงาน วิธีทำงาน / ระบบงาน ยา เวชภัณฑ์ วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ สถานที่ทำงาน ความรู้ ความเข้าใจ ความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้อง
ถอนหญ้า “ก๊อกๆๆๆๆ” เสียงเคาะประตูพร้อมๆ กับเสียงที่ดูเหมือนกับเป็นคำสั่งว่า" ตื่นนอนได้แล้วจะได้ช่วยกันทำงาน" เด็กน้อยตื่นขึ้นมา ท่าทางงัวเงีย พับผ้าห่มและตอบว่า " เดี๋ยวกินข้าวเสร็จ ไปถอนหญ้าที่ไร่นะ" พ่อสั่ง หลังจากทานอาหารเสร็จ เด็กน้อยซ้อนท้ายจักรยานซึ่งมีพ่อเป็นผู้ขี่
" ถอนหญ้า" ภาระกิจที่ได้รับมอบหมาย “หญ้า....ศัตรูตัวฉกาจของชาวไร่" " เดี๋ยวเจ้าถอนแปลงนี้นะ" พ่อสั่งพร้อมกับชี้นิ้วไปที่แปลงผัก เด็กน้อยรับคำและลงมือถอนหญ้าออกจากแปลงผัก ทีละต้น ทีละต้น จนกระทั่งศัตรูตัวฉกาจของชาวไร่หายไปจากแปลงผักจนหมดสิ้น " ไปพักกินน้ำที่ใต้ต้นมะม่วงก่อน....ไป" เด็กน้อยรับคำพ่อแล้วเดินไปพัก" กลับมาเร็วๆ นะ ยังมีอีกแปลงหนึ่ง" เสียงพ่อสั่งตามหลังเด็กน้อย
หลังจากได้พักกินน้ำ พ่อได้ส่งจอบให้เด็กน้อย พร้อมกับพูดว่า "เอ้า...เอาไปถากหญ้า" เด็กน้อยรับจอบและตรงไปยังแปลงผักเพื่อทำภารกิจต่อดูเหมือนว่าเด็กน้อยจะพึงพอใจกับการใช้จอบถากหญ้ามากกว่าการใช้มือถอน เหตุผลก็คือ มันทำให้เขาสามารถทำงานได้รวดเร็ว ซึ่งไม่นานนักเขาก็จัดการกับศัตรูตัวฉกาจของชาวไร่อย่างราบคาบ
หลังจากที่ภารกิจเสร็จสิ้นลง พ่อลูกก็พากันกลับบ้านระหว่างทางเด็กน้อยถาม "ทำไมไม่ให้ผมใช้จอบตั้งแต่แรกล่ะ ทั้งๆ ที่ทำงานได้เร็วกว่า" พ่อไม่ตอบ ได้แต่อมยิ้ม เก็บซ่อนคำตอบไว้เพียงผู้เดียว
ผ่านไป 1 สัปดาห์พ่อได้พาเด็กน้อยกลับไปที่ไร่อีก สิ่งที่เด็กน้อยเห็นก็คือ แปลงที่ใช้มือถอน บัดนี้ไม่มีหญ้าให้เขาถอนเลย แม้แต่ต้นเดียวแต่... แปลงที่ใช้จอบถาก กลับมีต้นหญ้าปกคลุมเหมือนเดิม " ทำไมมันเป็นอย่างนั้นล่ะ" เด็กน้อยถามด้วยความสงสัย ทั้งๆ ที่เขาได้จัดการมันหมดไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
พ่อตอบ "แปลงที่เจ้าใช้มือถอนน่ะ เจ้าได้ถอนมันถึงรากถึงโคน ส่วนแปลงที่เจ้าใช้จอบถากน่ะ เจ้าเพียงแต่ตัดเอาส่วนปลายของมันออกเท่านั้น มันยังคงมีส่วนที่ฝังลึกอยู่ในดินอีก”
“ มันก็เหมือนกับปัญหาต่างๆ ที่เราพบเจอนั่นแหละ ถ้าเรา แก้ปัญหาที่ปลายเหตุ โดยปล่อยสาเหตุของปัญหาไว้ ไม่นานนักปัญหานั้นก็จะกลับมาสร้างความเดือดร้อนให้เจ้าอีก แต่ถ้าเรา แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แม้มันจะยากสักนิด แต่มันก็ทำให้ปัญหานั้นหมดไปได้" เด็กน้อยยิ้มรับด้วยความเข้าใจ
“จะเลือกถอนหญ้า หรือ ถากหญ้า” “จงหันหน้าสู้กับปัญหา..... จัดการกับสาเหตุ..... และอย่าท้อถอย”
นักดนตรีเถื่อน กษัตริย์จีน โปรดฟังขลุ่ย แบบมหาดุริยางค์ ซื้อขลุ่ยมา ๓๐๐ เลา จ้างคนมาเป่าถวายให้ทรงฟังทุกวัน อยู่มาวันหนึ่งนักเป่าขลุ่ยหัวใจวายเฉียบพลัน(เป็นโรคทันสมัย)..ตาย มหาดุริยางค์ไม่ครบ ๓๐๐ คน บังเอิญ....มีกระทาชายนายหนึ่งชื่อนายกอ เดินทางผ่านมา เป็นคนยากจนเข็ญใจทำอะไรก็ไม่เป็น(เป่าขลุ่ยก็ไม่เป็นแน่นอน) ทราบว่ากษัตริย์กำลังต้องการนักเป่าขลุ่ย เลยลองไปสมัคร..เผื่อได้
อารามรีบร้อน และ เชื่อว่าสัมภาษณ์อย่างเดียวก็พอ จึงลืมให้ปฏิบัติ รับเข้าวงเลย นายกะล่อนก็ทำท่าเป่าพร้อมคนอื่น คนอื่นกดนิ้วตรงไหนก็กดตาม จึงไม่มีใครทราบความจริง อยู่มาวันหนึ่งกษัตริย์สิ้นพระชนม์ พระโอรสสืบราชสมบัติต่อ กษัตริย์หนุ่มทรงโปรดขลุ่ยเหมือนพระราชบิดา แต่โปรดการเดี่ยวขลุ่ย ให้นักดนตรีเป่าทีละคน นายกะล่อนได้ข่าวก็รีบหนีไปแต่ไม่ลืมหยิบขลุ่ยไปเป็นซูวีเนียร์ด้วย
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่านิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า โกหกหลอกลวงไม่ดี และ ถ้าสถานการณ์เปลี่ยนไปคนไม่เก่งจริงเอาตัวไม่รอด
ชาวนาใจร้อน ชาวนาคนหนึ่งเป็นคนใจร้อน เช้าไปดำนา สายไปดู บ่ายไปดู เย็นไปดู ต้นกล้าไม่โตสักที....ทำอย่างไรดี....... อ้า......นึกออกแล้ว ต้องช่วย... ช่วยดึงให้สูงขึ้นอีกหน่อยทุกๆต้น....กลับไปนอน เช้ากลับไปดูใหม่.....ต้นกล้าเหี่ยวตายหมด
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่านิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ไม่ควรใจร้อนเกินไป แต่ ความยากคือ ตรงไหนเป็นจุดพอดี
เข้าใจ ทำใจ ทำไป