1 / 51

การตีราคาใหม่สินทรัพย์ ( Revaluation ) ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล

การตีราคาใหม่สินทรัพย์ ( Revaluation ) ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล. - การบัญชีเมื่อตีราคาสินทรัพย์ลดลง - การบัญชีเมื่อตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น - การบัญชีเมื่อตีราคาใหม่ที่ดิน - การบัญชีเมื่อตีราคาใหม่อาคารและอุปกรณ์ วิธีที่ 1 ปรับราคาทุนและค่าเสื่อมราคาสะสมเป็นสัดส่วนกับการ

Download Presentation

การตีราคาใหม่สินทรัพย์ ( Revaluation ) ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตีราคาใหม่สินทรัพย์การตีราคาใหม่สินทรัพย์ (Revaluation) ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล

  2. - การบัญชีเมื่อตีราคาสินทรัพย์ลดลง - การบัญชีเมื่อตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น - การบัญชีเมื่อตีราคาใหม่ที่ดิน - การบัญชีเมื่อตีราคาใหม่อาคารและอุปกรณ์ วิธีที่ 1 ปรับราคาทุนและค่าเสื่อมราคาสะสมเป็นสัดส่วนกับการ เปลี่ยนแปลงราคาตามบัญชี วิธีที่ 2 ลดค่าเสื่อมราคาสะสมเดิมทั้งหมดแล้วจึงเพิ่มหรือลดราคาทุน เพื่อให้ราคาตามบัญชีเท่ากับราคายุติธรรม

  3. การตีราคาใหม่ ราคาตลาดปัจจุบันของสินทรัพย์ มักไม่ตรงกับ ราคาตามบัญชี(ราคาทุน - ค่าเสื่อมราคาสะสม) จึงมีแนวคิดที่จะแสดงมูลค่าสินทรัพย์ในราคาที่ตีใหม่ ซึ่งมาตรฐานการบัญชีของไทยได้มีข้อกำหนดว่า กิจการสามารถเลือกแสดงมูลค่าสินทรัพย์ได้ 2 แนวทางคือ 1. แสดงในราคาทุนเมื่อเริ่มแรก หักค่าเสื่อมราคาสะสม หักค่าเผื่อการด้อยค่า 2. แสดงในราคาที่ตีใหม่ ซึ่งคือราคายุติธรรม หักค่าเสื่อมราคาสะสม หักค่าเผื่อการด้อยค่า โดยต้องทำการตีราคาใหม่ - สินทรัพย์ทุกรายการในประเภทเดียวกัน - อย่างสม่ำเสมอ ตามการเปลี่ยนแปลงของราคายุติธรรม

  4. ราคายุติธรรม ราคายุติธรรม, มูลค่ายุติธรรม, ราคาประเมิน, Fair value, Sound value คือ 1. ราคาตลาด (Market value) 2. ราคาเปลี่ยนแทน หักค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาเปลี่ยนแทน (Replacement cost หรือ Reproduction cost) คือ ราคาที่อาจซื้อหรือสร้างสินทรัพย์ได้ใหม่ในปัจจุบัน ตัวอย่าง 1 ม.ค. 2551 ซื้อรถยนต์รุ่น aaa 500,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี 31 ธ.ค. 2552 รถยนต์คันนี้หากขายตามสภาพที่ใช้มาแล้ว 2 ปีที่ตลาดรถ มือสองจะได้ในราคา 360,000 บาท 360,000 บาทคือราคาตลาด (Market value) ราคายุติธรรม คือ ราคาตลาด (Market value) ราคายุติธรรม = 360,000

  5. ตัวอย่าง 1 ม.ค. 2551 ซื้อรถยนต์รุ่น aaa 500,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี 31 ธ.ค. 2552 รถยนต์รุ่น aaa ที่โชว์รูมรถใหม่มีราคา 600,000 บาท 600,000 บาท คือ ราคาเปลี่ยนแทน (Replacement cost) ราคายุติธรรม คือ ราคาเปลี่ยนแทน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคายุติธรรม = 600,000 - (600,000 x 2/5=240,000) = 360,000 ทั้ง 2 ตัวอย่างนี้ มีราคายุติธรรม = 360,000 ตีราคาเพิ่ม(ลด) ราคายุติธรรม360,000 ราคาตามบัญชีก่อนตีราคา 500,000 - (500,000 x 2/5=200,000) 300,000 ตีราคาเพิ่ม 60,000

  6. Condition percent คือ อายุการใช้งานที่เหลืออยู่ x 100 อายุการใช้งานทั้งหมดตลอดอายุ สินทรัพย์มีอายุการใช้งาน 5 ปี ใช้มาแล้ว 2 ปีจึงตีราคาใหม่ หลังจากตีราคาใหม่มี Condition percent = 60% (มาจาก 3/5 x 100) Condition percent60% จะหาอายุการใช้งานที่เหลือ ได้ดังนี้ 40% = 2 ปี 60% = 2 / 40 x 60 = 3 ปี สินทรัพย์มีอายุการใช้งาน 5 ปี ใช้มาแล้ว 2 ปีจึงประเมินราคาและอายุใหม่ หลังจากตีราคาใหม่มี Condition percent = 75% Condition percent 75% จะหาอายุการใช้งานที่เหลือ ได้ดังนี้ 25% = 2 ปี 75% = 2 / 25 x 75 = 6 ปี อายุการใช้งานทั้งหมดตลอดอายุ = 2 + 6 = 8 ปี Condition percent = 75% มาจาก 6 / 8 x 100 = 75%

  7. การตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ราคาสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น ให้บันทึกส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ เว้นแต่ ี้เป็นการตีราคาเพิ่มขึ้นจากที่เคยตีราคาลดลงไว้ในงวดก่อน ๆ ราคาสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น ให้บันทึกเป็นรายได้ไม่เกินกว่าผลขาดทุนที่เคยรับรู้ไว้ ในบัญชีรายการกำไรจาการตีราคาสินทรัพย์ Dr. ราคาที่เพิ่มขึ้น (จะอธิบายในลำดับต่อไป) Cr. (1.) รายการกำไรจากการตีราคาสินทรัพย์ (ไม่เกินผลขาดทุนจากการตีราคาลดลงที่เคยรับรู้ไว้) (2.) ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นงวดต้องโอนบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ไปยังบัญชีกำไรสะสม เท่ากับ ผลต่างระหว่าง ค่าเสื่อมราคาที่คำนวณจากราคาตีใหม่ กับ ที่คำนวณจากราคาทุนเดิม

  8. การตีราคาสินทรัพย์ลดลง ราคาสินทรัพย์ที่ลดลง ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ในบัญชีรายการขาดทุนจาการตีราคาสินทรัพย์ เว้นแต่ ี้เป็นการตีราคาลดลงจากที่เคยตีราคาเพิ่มขึ้นไว้ในงวดก่อน ๆ ราคาสินทรัพย์ที่ลดลงให้บันทึกลดส่วนของเจ้าของที่เคยรับรู้ไว้ ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ Dr. (1.) ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ (ไม่เกินส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่เคยรับรู้ไว้) (2.) รายการขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ Cr. ราคาที่ลดลง (จะอธิบายในลำดับต่อไป)

  9. การตีราคาใหม่ที่ดิน มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน คือ ราคาตลาด (Market value) หรือ ราคาเปลี่ยนแทน (Replacement coat) ไม่มีค่าเสื่อมราคาสะสม การบันทึก ณ วันตีราคาที่ดินเพิ่มขึ้น Dr. ที่ดิน (มูลค่ายุติธรรม หัก ราคาตามบัญชี) xx Cr. (1) รายการกำไรจากการตีราคาที่ดิน (ไม่เกินผลขาดทุนจากการตีราคาลดลงที่เคยรับรู้ไว้) xx (2) ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน xx การบันทึก ณ วันตีราคาที่ดินลดลง Dr. (1.) ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน (ไม่เกินส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินที่เคยรับรู้ไว้) xx (2.) รายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน xx Cr. ที่ดิน (มูลค่ายุติธรรม หัก ราคาตามบัญชี) xx

  10. ตัวอย่างที่ 2 หน้า 189 31 ธ.ค. 2542 ราคายุติธรรม 1,200,000 ราคาตามบัญชี 1,000,000 ตีราคาเพิ่ม200,000 ไม่มีผลขาดทุนจากการตีราคาที่ดินลดลงในงวดก่อน ๆ บัญชีส่วนเกินทุน 200,000 Dr. ที่ดิน 200,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน 200,000

  11. 31 ธ.ค. 2544 ราคายุติธรรม 1,350,000 ราคาตามบัญชี 1,200,000 ตีราคาเพิ่ม150,000 ไม่มีผลขาดทุนจากการตีราคาที่ดินลดลงในงวดก่อน ๆ บัญชีส่วนเกินทุน 150,000 Dr. ที่ดิน 150,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน 150,000

  12. 31 ธ.ค. 2546 ราคายุติธรรม 1,180,000 ราคาตามบัญชี 1,350,000 ตีราคาลด170,000 มีบัญชีส่วนเกินทุน ปี 2542 200,000 ปี 2544 150,000 350,000 ลดบัญชีส่วนเกินทุน 170,000 ไม่บันทึกบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน170,000 Cr. ที่ดิน 170,000

  13. 31 ธ.ค. 2548 ราคายุติธรรม 800,000 ราคาตามบัญชี 1,180,000 ตีราคาลด380,000 มีบัญชีส่วนเกินทุน ถึงสิ้นปี 2544 350,000 หัก ลดลงปี 2546 170,000 180,000 ลดบัญชีส่วนเกินทุน 180,000 บัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 200,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน180,000 รายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 200,000 Cr. ที่ดิน 380,000

  14. 31 ธ.ค. 2550 ราคายุติธรรม 700,000 ราคาตามบัญชี 800,000 ตีราคาลด100,000 มีบัญชีส่วนเกินทุน ถึงสิ้นปี 2546 180,000 หัก ลดลงปี 2548 180,000 0 บัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 100,000 Dr. รายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 100,000 Cr. ที่ดิน 100,000

  15. 31 ธ.ค. 2552 ราคายุติธรรม 820,000 ราคาตามบัญชี 700,000 ตีราคาเพิ่ม120,000 มีบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน สิ้นปี 2548 200,000 สิ้นปี 2550 100,000 300,000 บันทึกรายการกำไรจากการตีราคาที่ดิน 120,000 ไม่มีการบันทึกบัญชีส่วนเกินทุน Dr. ที่ดิน 120,000 Cr. รายการกำไรจากการตีราคาที่ดิน 120,000

  16. 31 ธ.ค. 2554 ราคายุติธรรม 1,600,000 ราคาตามบัญชี 820,000 ตีราคาเพิ่ม780,000 มีบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน ถึงสิ้นปี 2550 300,000 หัก ลดสิ้นปี 2552 120,000 180,000 บันทึกรายการกำไรจากการตีราคาที่ดิน 180,000 บันทึกบัญชีส่วนเกินทุน 600,000 Dr. ที่ดิน 780,000 Cr. รายการกำไรจากการตีราคาที่ดิน 180,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 600,000

  17. ตัวอย่างที่ 1 หน้า 189 สิ้นปีที่ 6 ราคายุติธรรม 1,600,000 ราคาตามบัญชี 1,000,000 ตีราคาเพิ่ม 600,000 ไม่มีผลขาดทุนจากการตีราคาที่ดินลดลงในงวดก่อน ๆ บัญชีส่วนเกินทุน 600,000 Dr. ที่ดิน 600,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน 600,000

  18. สิ้นปีที่ 8 Dr. เงินสด 1,700,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 600,000 Cr. ทีดิน (1,000,000 + 600,000) 1,600,000 รายการกำไรจากการขายที่ดิน (ผลต่าง) 700,000 หรือ เงินสด 1,700,000 ราคาทุนเมื่อเริ่มแรก 1,000,000 กำไร 700,000 หากผลต่างทางด้าน Dr. เป็นรายการขาดทุนจากการขายที่ดิน

  19. การตีราคาใหม่อาคารและอุปกรณ์ อาคารและอุปกรณ์ รวมถึง เครื่องใช้ เครื่องจักร รถยนต์ เครื่องตกแต่ง ฯลฯ ราคายุติธรรมของอาคารและอุปกรณ์ คือ 1. ราคาตลาด (Market value) 2. ราคาเปลี่ยนแทน (Replacement cost) หักค่าเสื่อมราคาสะสม การบันทึกบัญชี ณ วันที่ตีราคาใหม่มี 2 วิธีคือ วิธีที่ 1 ปรับราคาทุนและค่าเสื่อมราคาสะสมเป็นสัดส่วนกับการ เปลี่ยนแปลงราคาตามบัญชี วิธีที่ 2 ลดค่าเสื่อมราคาสะสมเดิมทั้งหมดแล้วจึงเพิ่มหรือลดราคาทุน เพื่อให้ราคาตามบัญชีเท่ากับราคายุติธรรม

  20. วิธีที่ 1 ปรับราคาทุนและค่าเสื่อมราคาสะสมเป็นสัดส่วนกับการ เปลี่ยนแปลงราคาตามบัญชี วิธีนี้ใช้ได้สะดวกเมื่อทราบราคายุติธรรมเป็น ราคาเปลี่ยนแทน (Replacement cost)หักค่าเสื่อมราคาสะสม ตีราคาเพิ่มขึ้น Dr. สินทรัพย์ (Replacement cost - ราคาทุนเดิม) xx Cr.ค่าเสื่อมราคาสะสม (ราคาทุนที่เพิ่ม(Dr) x อายุที่ผ่านมา / อายุทั้งหมด) xx (1) รายการกำไรจากการตีราคาสินทรัพย์ (ไม่เกินผลขาดทุนจากการตีราคาลดลงที่เคยรับรู้ไว้) xx (2) ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx

  21. ตีราคาลดลง Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม (ราคาทุนที่ลด(Cr) x อายุที่ผ่านมา / อายุทั้งหมด) xx (1) ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ (ไม่เกินส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่เคยรับรู้ไว้) xx (2) รายการขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx Cr. สินทรัพย์ (Replacement cost - ราคาทุนเดิม) xx

  22. วันสิ้นงวดหลังจากตีราคาใหม่ บันทึก 2 รายการคือ 1. บันทึกค่าเสื่อมราคา คำนวณจากราคายุติธรรม เฉลี่ยด้วยอายุที่เหลือ หรือคำนวณจาก Replacement cost เฉลี่ยด้วยอายุทั้งหมด Dr. ค่าเสื่อมราคา xx Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม xx 2. บันทึกการโอนบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์(ถ้ามี) ไปยัง บัญชีกำไรสะสม คำนวณจากบัญชีส่วนเกินทุน เฉลี่ยด้วยอายุที่เหลือ หรือ ผลต่างของค่าเสื่อมฯที่คำนวณจากราคาตีใหม่กับที่คำนวณจากราคาทุนเดิม Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx Cr. กำไรสะสม xx

  23. ตัวอย่างที่ 4 หน้า 195 31 ธ.ค. 2540 ค่าเสื่อมราคาปีละ 300,000 / 5 = 60,000 31 ธ.ค. 2541 ค่าเสื่อมราคาปีละ 300,000 / 5 = 60,000 ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2541 Replacement cost 200,000 ราคาทุนเดิม300,000 ลดราคาทุน 100,000 ลดค่าเสื่อมราคาสะสม (100,000 x 2/5) 40,000 ตีราคาลดลง (หรือ)60,000 ไม่มีบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร บันทึกบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 60,000

  24. หรือ F.V. Replacement cost 200,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (200,000x 2/5) 80,000 120,000 B.V. ราคาทุน 300,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (300,000x 2/5) 120,000180,000 ตีราคาลดลง 60,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 รายการขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 60,000 Cr. เครื่องจักร 100,000

  25. 31 ธ.ค. 2542 ค่าเสื่อมราคา 200,000 / 5 = 40,000 หรือ ค่าเสื่อมราคา 120,000 / 3 = 40,000 ราคาตามบัญชีหลังตีราคาลดสิ้นปี 2541 ราคาทุน (300,000 - 100,000) 200,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2540 60,000 ปี 2541 60,000 หัก ลดค่าเสื่อมราคาสะสม 40,00080,000 120,000 อายุที่เหลือ (5 - 2) 3 ปี Dr. ค่าเสื่อมราคา 40,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 31 ธ.ค. 2543 ค่าเสื่อมราคา 200,000 / 5 = 40,000

  26. ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2543 Replacement cost 450,000 ราคาทุนเดิม200,000 เพิ่มราคาทุน 250,000 เพิ่มค่าเสื่อมราคาสะสม (250,000 x 4/5) 200,000 ตีราคาเพิ่ม 50,000 ผลขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร บันทึกไว้สิ้นปี 2541 60,000 หัก ผลกำไรจากค่าเสื่อมราคาที่ลดลง ปี 2542, 2543 (60,000 - 40,000) x 2 40,000 ผลขาดทุนที่มีอยู่ 20,000 บันทึกบัญชีรายการกำไร ฯ 20,000 บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 30,000

  27. ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2543 Dr. เครื่องจักร 250,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 200,000 รายการกำไรจากการตีราคาเครื่องจักร 20,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 30,000 31 ธ.ค. 2544 ค่าเสื่อมราคา 450,000 / 5 = 90,000 โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปกำไรสะสม 30,000 / 1 = 30,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 90,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 60,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 30,000 Cr. กำไรสะสม 30,000

  28. ตัวอย่างที่ 5 หน้า 199 31 ธ.ค. 2540, 2541 ค่าเสื่อมราคาปีละ 270,000 / 5 = 54,000 ตีราคาใหม่ 1 ม.ค. 2542 Replacement cost 400,000 ราคาทุนเดิม300,000 เพิ่มราคาทุน 100,000 เพิ่มค่าเสื่อมราคาสะสม (100,000 x 2/5) 40,000 ตีราคาเพิ่ม 60,000 ไม่มีผลขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 60,000 Dr. เครื่องจักร 100,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 60,000

  29. 31 ธ.ค. 2542 ค่าเสื่อมราคา (400,000 - 30,000) / 5 = 74,000 โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปกำไรสะสม 60,000 / 3 = 20,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 74,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 74,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 20,000 Cr. กำไรสะสม 20,000 31 ธ.ค. 2543 ค่าเสื่อมราคา (400,000 - 30,000) / 5 = 74,000 โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปกำไรสะสม 60,000 / 3 = 20,000

  30. ตีราคาใหม่ 1 ม.ค. 2544 Replacement cost 280,000 ราคาทุนเดิม400,000 ลดราคาทุน 120,000 ลดค่าเสื่อมราคาสะสม (120,000 x 4/5) 96,000 ตีราคาลด 24,000 มีบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร บันทึกไว้วันตีราคาเพิ่ม 60,000 หัก โอนไปกำไรสะสม สิ้นปี 2542 20,000 สิ้นปี 2543 20,00040,000 20,000 ลดบัญชีส่วนเกินทุน ฯ 20,000 บันทึกบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 4,000

  31. วันตีราคาใหม่ 1 ม.ค. 2544 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 96,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 20,000 รายการขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 4,000 Cr. เครื่องจักร 120,000 31 ธ.ค. 2544 ค่าเสื่อมราคา (280,000 - 30,000) / 5 = 50,000 ไม่มีบัญชีส่วนเกินทุน ฯ Dr. ค่าเสื่อมราคา 50,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 50,000

  32. ตัวอย่างที่ 3 หน้า 194 สิ้นปีที่ 1- 6 ค่าเสื่อมราคาปีละ = 5,000,000 / 10 = 500,000 วันตีราคาใหม่ สิ้นปีที่ 6 Dr. เครื่องจักร (6,500,000-5,000,000) 1,500,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม (1,500,000 x 6/10) 900,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 600,000 Conditional percent 40% 60% = 6 ปี 40% = 6 / 60 x 40 = 4 ปี สิ้นปีที่ 7 ค่าเสื่อมราคา = 6,500,000 / 10 = 650,000 หรือ ค่าเสื่อมราคา = 2,600,000 / 4 = 650,000 ราคาตามบัญชี = 6,500,000-3,900,000 = 2,600,000 โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปกำไรสะสม 600,000 / 4 = 150,000

  33. วันขายเครื่องจักร 1 เม.ย. ปีที่ 8 บันทึก 3 รายการคือ 1. บันทึกค่าเสื่อมราคาตั้งแต่ 1 ม.ค. ถึง เ เม.ย. ปีที่ 8 = 3 เดือน Dr. ค่าเสื่อมราคา (650,000 x 3/12) 162,500 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 162,500 2. บันทึกโอนส่วนเกินทุน ฯ ไปกำไรสะสม = 3 เดือน Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 37,500 Cr. กำไรสะสม (150,000 x 3/12) 37,500 3. บันทึกการขายเครื่องจักร อยู่หน้าถัดไป

  34. 3. บันทึกการขายเครื่องจักร Dr. เงินสด 1,400,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร (600,000-150,000-37,500) 412,500 ค่าเสื่อมราคาสะสม (3,000,000+ 900,000+650,000+162,500) 4,712,500 Cr. เครื่องจักร (5,000,000+1,500,000) 6,500,000 รายการกำไรจากการขายเครื่องจักร (ผลต่าง) 25,000 หรือ เงินสด 1,400,000 ราคาตามบัญชีที่คำนวณจากราคาทุนเมื่อเริ่มแรก ราคาทุน 5,000,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 7 ปี 3 เดือน (5,000,000 / 10 x 87/12) 3,625,0001,375,000 กำไร 25,000

  35. วิธีที่ 2 ลดค่าเสื่อมราคาสะสมเดิมทั้งหมดแล้วจึงเพิ่มหรือลด ราคาทุนเพื่อให้ราคาตามบัญชีเท่ากับราคายุติธรรม วิธีสะดวกเมื่อทราบมูลค่ายุติธรรมเป็น Market value, Sound value, ราคาสุทธิ การบันทึกบัญชี ณ วันตีราคาเพิ่ม 1.ลดค่าเสื่อมราคาสะสมเดิมทั้งหมด Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม xx Cr. สินทรัพย์ xx 2. เพิ่มราคาทุนเพื่อให้ราคาตามบัญชีเท่ากับราคายุติธรรม Dr. สินทรัพย์ (ราคาตามบัญชี - ราคายุติธรรม) xx Cr. (1)รายการกำไรจากการตีราคาสินทรัพย์ xx (2)ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx

  36. การบันทึกบัญชี ณ วันตีราคาลด 1.ลดค่าเสื่อมราคาสะสมเดิมทั้งหมด Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม xx Cr. สินทรัพย์ xx 2. ลดราคาทุนเพื่อให้ราคาตามบัญชีเท่ากับราคายุติธรรม Dr. (1)ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx (2)รายการขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx Cr. สินทรัพย์ (ราคาตามบัญชี - ราคายุติธรรม) xx

  37. วันสิ้นงวดหลังจากตีราคาใหม่ บันทึก 2 รายการคือ 1. บันทึกค่าเสื่อมราคาคำนวณจากราคายุติธรรม เฉลี่ยด้วยอายุที่เหลือ หรือคำนวณจาก Replacement cost เฉลี่ยด้วยอายุทั้งหมด Dr. ค่าเสื่อมราคา xx Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม xx 2. บันทึกการโอนบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์(ถ้ามี) ไปยัง บัญชีกำไรสะสมคำนวณจากบัญชีส่วนเกินทุน เฉลี่ยด้วยอายุที่เหลือ Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx Cr. กำไรสะสม xx (เหมือนวิธีที่ 1)

  38. ตัวอย่างที่ 11 หน้า 208 31 ธ.ค. 2540 ค่าเสื่อมราคา 540,000 /5 = 108,000 31 ธ.ค. 2541 ค่าเสื่อมราคา 540,000 /5 = 108,000 1 ม.ค. 2542 มูลค่าสุทธิ หรือ Sound value เท่ากับ 384,000 ใช้วิธีที่ 2 ราคายุติธรรม 384,000 ราคาตามบัญชีเดิมก่อนตีราคา ราคาทุน 540,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2540 108,000 ปี 2541 108,000216,000324,000 ตีราคาเพิ่ม 60,000 (ต่อ)

  39. (ต่อ) ตีราคาเพิ่ม 60,000 ไม่มีผลขาดทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 60,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 216,000 Cr. เครื่องตกแต่ง216,000 Dr. เครื่องตกแต่ง 60,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 60,000 หลังตีราคา ราคาทุน (540,000 - 216,000 + 60,000) 384,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม (216,000 - 216,000) 0 ราคาตามบัญชี 384,000 ส่วนเกินทุน ฯ60,000

  40. 31 ธ.ค. 2542 บันทึก 2 รายการคือ 1. ค่าเสื่อมราคา = 384,000 / 3= 128,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 128,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 128,000 2. โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปยังกำไรสะสม = 60,000 / 3= 20,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ 20,000 Cr. กำไรสะสม 20,000 31 ธ.ค. 2543 บันทึกเหมือนกับ 31 ธ.ค. 2542 คือ 1. ค่าเสื่อมราคา = 384,000 / 3= 128,000 2. โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปยังกำไรสะสม = 60,000 / 3= 20,000

  41. 1 ม.ค. 2544 มูลค่าสุทธิ หรือ Sound value เท่ากับ 110,000 ใช้วิธีที่ 2 ราคายุติธรรม 110,000 ราคาตามบัญชีเดิมก่อนตีราคา ราคาทุน 384,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2542 128,000 ปี 2543 128,000256,000128,000 ตีราคาลด 18,000 มีบัญชีส่วนเกินทุน ฯ (60,000-20,000-20,000) = 20,000 บันทึกลดบัญชีส่วนเกินทุน ฯ 18,000 ไม่บันทึกบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคา

  42. 1 ม.ค. 2544 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 256,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 256,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 18,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 18,000 หลังตีราคา ราคาทุน (384,000 - 256,000 - 18,000) 110,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม (256,000 - 256,000) 0 ราคาตามบัญชี 110,000 ส่วนเกินทุน ฯ (20,000 -18,000) 2,000

  43. 31 ธ.ค. 2544 บันทึก 2 รายการคือ 1. ค่าเสื่อมราคา = 110,000 / 1= 110,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 110,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 110,000 2. โอนส่วนเกินทุน ฯ ไปยังกำไรสะสม = 2,000 / 1= 2,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 2,000 Cr. กำไรสะสม 2,000 ตัวอย่างที่ 12 แก้โจทย์ 11 110,000 เป็น 105,000

  44. 1 ม.ค. 2544 มูลค่าสุทธิ หรือ Sound value เท่ากับ 105,000 ใช้วิธีที่ 2 ราคายุติธรรม 105,000 ราคาตามบัญชีเดิมก่อนตีราคา ราคาทุน 384,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2542 128,000 ปี 2543 128,000256,000128,000 ตีราคาลด 23,000 มีบัญชีส่วนเกินทุน ฯ (60,000-20,000-20,000) = 20,000 บันทึกลดบัญชีส่วนเกินทุน ฯ 20,000 บันทึกบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคา 3,000

  45. 1 ม.ค. 2544 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 256,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 256,000 Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 20,000 รายการขาดทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 3,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 23,000 หลังตีราคา ราคาทุน (384,000 - 256,000 - 23,000) 105,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม (256,000 - 256,000) 0 ราคาตามบัญชี 105,000 ส่วนเกินทุน ฯ (20,000 - 20,000) 0

  46. 31 ธ.ค. 2544 บันทึก 1 รายการคือ ค่าเสื่อมราคา = 105,000 / 1= 105,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 105,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 105,000 ตัวอย่างที่ 13 หน้า 213 ซื้อเครื่องจักร 1 ม.ค. 2540 ราคา 300,000 บาท อายุ 5 ปี ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2541 ราคาตลาด หรือ Sound value เท่ากับ 120,000 บาท 31 ธ.ค. 2543 ราคาตลาด หรือ Sound value เท่ากับ 90,000 บาท

  47. 31 ธ.ค. 2540 ค่าเสื่อมราคา 300,000 / 5 = 60,000 31 ธ.ค. 2541 ค่าเสื่อมราคา 300,000 / 5 = 60,000 ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2541 Sound value 120,000 ราคาตามบัญชี ราคาทุน300,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2540 60,000 ปี 2541 60,000120,000180,000 ตีราคาลด 60,000 ไม่มีบัญชีส่วนเกินทุน ฯ บันทึกบัญชีรายการขาดทุนจากการตีราคา 60,000

  48. ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2541 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 120,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 120,000 Dr. รายการขาดทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 60,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 60,000 หลังตีราคา ราคาทุน (300,000 - 120,000 - 60,000) 120,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม (120,000 - 120,000) 0 ราคาตามบัญชี 120,000 31 ธ.ค. 2542 ค่าเสื่อมราคา = 120,000 / 3 = 40,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 40,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000

  49. 31 ธ.ค. 2543 ค่าเสื่อมราคา = 120,000 / 3 = 40,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา 40,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 ตีราคาใหม่ 31 ธ.ค. 2543 Sound value 90,000 ราคาตามบัญชี ราคาทุน 120,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2542 40,000 ปี 2543 40,00080,000 40,000 ตีราคาเพิ่ม 50,000 (ต่อ)

  50. ตีราคาเพิ่ม 50,000 ผลขาดทุนจากการตีราคาเครื่องจักร บันทึกไว้สิ้นปี 2541 60,000 หัก ผลกำไรจากค่าเสื่อมราคาที่ลดลง ปี 2542, 2543 (60,000 - 40,000) x 2 40,000 ผลขาดทุนที่มีอยู่ 20,000 บันทึกบัญชีรายการกำไร ฯ 20,000 บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องจักร 30,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 80,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 80,000 Dr. รายการกำไรจากการตีราคาเครื่องจักร 20,000 ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเครื่องตกแต่ง 30,000 Cr. เครื่องตกแต่ง 50,000

More Related