1 / 14

การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)

การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation). เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม บริษัท 40 เค แอนด์พี จำกัด. การแบ่งส่วนตลาด ( Market Segmentation).

Download Presentation

การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแบ่งส่วนตลาด(Market Segmentation) เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม บริษัท 40 เค แอนด์พี จำกัด

  2. การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) การเลือกส่วนแบ่งตลาดเลือกลูกค้ากลุ่มเป้าหมายที่เราสามารถตอบสนองได้เช่นTOYOTAก็มีCAMLY VIOS SOLUNA COROLLA หรือFOUR wheel เขาก็แบ่งระดับลูกค้าโฆษณาก็เจาะกลุ่มใช้Presenter ที่แตกต่างตามกลุ่มลูกค้าแม้แต่ยาสีฟันยังต้องทำเช่นสูตรผสมสมุนไพรสูตรฟันขาวฯลฯ ทั้งนี้เพราะเราจะได้ตอบสนองให้ตรงเป้าหมายเช่นโรงพยาบาลยันฮีเน้นความสวยงามเจาะเรื่องนี้ไปเลยทำNiche Market นี่คือการแบ่งตลาดลูกค้าเครื่องมือที่ใช้แบ่งอาจใช้ อายุ เพศ รายได้ พื้นที่เกณฑ์ ภูมิศาสตร์ เช่นภาคเหนือภาคใต้ภาคอีสานเราต้องดูด้านจิตวิทยาบวกกับพฤติกรรมบริโภคเช่นเด็กรุ่นใหม่ต้องN $ M ( N แรกคือInternet พฤติกรรมคือชอบสะดวกชอบทำด้วยตัวเองค้นหาด้วยตัวเองM 8nv Me ) เอาแต่ใจไม่มีเหตุผลต้องเรียนรู้ค้นคว้าด้วยตนเองช้าไม่ได้รอนานไม่ได้นี่คือพฤติกรรมของลูกค้าวัยรุ่นที่เราต้องศึกษาไว้ใช้ประโยชน์ การแบ่งส่วนตลาด หมายถึง การจัดกลุ่มลูกค้าออกเป็นกลุ่มๆ โดยใช้คุณลักษณะร่วมอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นเครื่องมือในการจัดกลุ่ม (เช่น รายได้ อายุ วิธีการซื้อ ฯลฯ) เพื่อให้สามารถระบุได้ว่า ลูกค้าแต่ละกลุ่มต่างกันอย่างไร จะซื้ออะไร และด้วยวิธีการอย่างไร

  3. การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) การแบ่งส่วนตลาด เป็นเรื่องที่สำคัญเพราจะช่วยให้เราสามารถวางกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าได้โดยปกติแล้วเราอาจจะไม่สามารถตอบสนองลูกค้าได้ทุกกลุ่มหรือครอบคลุมจึงต้องเจาะกลุ่มและแบ่งระดับว่าจะเป็นMass Market Segment หรือNiche Marketเช่นโรงพยาบาลยันฮีบ้านไร่กาแฟ หรือจะIndividual Market : ตลาดรายบุคคล การแบ่งส่วนตลาด สำคัญอย่างไร SMEs ไม่ใหญ่พอที่จะเข้าไปในตลาดทุกตลาดได้ การเข้าใจในเรื่องการแบ่งส่วนตลาด จะช่วยในการกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม กับตลาดที่ต้องการ

  4. การพิจารณาการแบ่งส่วนตลาดการพิจารณาการแบ่งส่วนตลาด การแบ่งส่วนตลาด เป็นเรื่องที่สำคัญเพราจะช่วยให้เราสามารถวางกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าได้โดยปกติแล้วเราอาจจะไม่สามารถตอบสนองลูกค้าได้ทุกกลุ่มหรือครอบคลุมจึงต้องเจาะกลุ่มและแบ่งระดับว่าจะเป็นMass Market Segment หรือNiche Marketเช่นโรงพยาบาลยันฮีบ้านไร่กาแฟ หรือจะIndividual Market : ตลาดรายบุคคล ระดับการแบ่งส่วนตลาด 1.1 Mass Market 1.2 Segment Market 1.3 Niche Market 1.4 Individual Market

  5. ตัวแปรที่อาจใช้ในการแบ่งส่วนตลาด (ตลาดอุปโภค บริโภค) การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)

  6. ปัจจัยที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด (ตลาดธุรกิจ) ลักษณะการซื้อ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ลักษณะในการดำเนินงาน • ประเภทของอุตสาหกรรม • ขนาดของกิจการ • สานที่ตั้ง • ลักษณะของการประกอบการ • ระดับเทคโนโลยีของลูกค้า • ระดับการใช้ • ต้องการ / ไม่ต้องการ • สไตล์ของผู้บริหาร • ความสัมพันธ์ระยะสั้น • / ระยะยาว • ลักษณะขั้นตอนการ • จัดซื้อ • เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดซื้อ การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) ลักษณะทางสถานการณ์ ลักษณะส่วนบุคคล • ความรีบด่วนที่ลูกค้าต้องการ • ประโยชน์ที่ต้องการ • ขนาดของคำสั่งซื้อ • วัฒนธรรม และค่านิยมที่สอดคล้องกับบริษัท • กล้าเสี่ยง / ไม่กล้าเสี่ยง • ความภักดีต่อสินค้า เราจะต้องเรียนรู้ลักษณะของลูกค้า ศึกษาพฤติกรรมของลูกค้าอ่านลูกค้าให้ออก ใช้จิตวิทยาช่วยสนองความต้องการของลูกค้าตามส่วนแบ่งทางการตลาด เช่น ลักษณะสถานที่ทำงานของลูกค้าระดับการใช้ Technologyของลูกค้าสไตล์ของผู้บริหารลักษณะขั้นตอนและเกณฑ์การจัดซื้อสินค้าขนาดของกำลังซื้อความต้องการที่เร่งด่วนค่านิยมความจงรักภักดีของลูกค้าเหล่านี้จะทำให้เรากำหนดส่วนตลาดได้

  7. แหล่งข้อมูลที่ใช้การแบ่งส่วนตลาดแหล่งข้อมูลที่ใช้การแบ่งส่วนตลาด การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) • สำนักงานสถิติแห่งชาติ • กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ • มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาต่างๆ • องค์กร / สมาคมการค้า หอการค้า • ธนาคารพาณิชย์ • ธนาคารแห่งประเทศไทย

  8. ส่วนตลาดที่ดี • วัด และระบุออกมาได้ชัดเจน • มีคุณลักษณะร่วมกัน หรือเหมือนกัน • สามารถเข้าถึงได้ ด้วยเครื่องมือทางการค้า • มีกำลังซื้อ • เป็นส่วนตลาดที่เรามีความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาดมาจากสำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงทบวง กรม ต่างๆสถาบันการศึกษาธนาคารเป็นต้นส่วนตลาดที่ดีต้อกงมีกำลังซื้อสามารถเข้าถึงได้ และเป็นส่วนตลาดที่เราได้เปรียบเหนือคู่แข่งขัน ความได้เปรียบมาได้อย่างไรเราต้องทำBenchmarking หาคู่เปรียบหรือตัวเองกับผลงานที่ผ่านมา

  9. การแบ่งส่วนตลาด เป็นพื้นฐานที่นำไปสู่การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งทางการตลาด การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งตลาด ใครอาจเป็นลูกค้าได้บ้าง ลูกค้ากลุ่มไหนที่เราเลือก ลูกค้าเลือกผลิตภัณฑ์ ของเราเพราะเหตุใด

  10. ตลาดเป้าหมายที่เหลือ ควรเป็นตลาดเป้าหมายที่น่าสนใจ และกิจการมีความได้เปรียบ ที่จะเข้าไปแข่งขันในตลาดนั้น การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) ความน่าสนใจของตลาด สูง ต่ำ สูง ต่ำ ความได้เปรียบในการแข่งขัน ขนาดความเติบโต ศักยภาพ ความสามารถในการทำกำไร ความมีเสถียรภาพ ต้นทุนต่ำ ประสิทธิภาพสูง การแบ่งส่วนตลาดเป็นพื้นฐานของการเลือกเป้าหมาย และวางตำแหน่งทางการตลาดตลาดเป้าหมายควรเป็นตลาดที่เราได้เปรียบและน่าสนใจวิธีการเลือกตลาดเป้าหมายต้องดูระดับความได้เปรียบและความน่าสนใจเช่น -ความได้เปรียบต่ำความน่าสนใจต่ำไม่ต้องทำCRM -ความได้เปรียบต่ำความน่าสนใจสูงว่างๆค่อยทำCRM -ความได้เปรียบสูงความน่าสนใจต่ำก็ยังไม่น่าทำCRM -ความได้เปรียบสูงความน่าสนใจสูงต้องทุ่มCRMเป็นอันดับแรก

  11. ความน่าสนใจของตลาด ความได้เปรียบในการแข่งขัน การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) • ขนาดของตลาดโดยรวม • อัตราการเติบโตของตลาด • ความสามารถในการทำกำไร • ความสอดคล้องกับกลุ่มลูกค้าเดิม • ความเข้มข้นของการแข่งขัน • สอดคล้องกับความสามารถของ SMEs • กระบวนการผลิต • โครงสร้างองค์กร • เงินทุน • วัฒนธรรม / ประสบการณ์ • ความเข้มแข็งของคู่แข่ง • การตอบโต้จากคู่แข่ง เปรียบเทียบกับส่วนตลาดอื่นๆ เปรียบเทียบกับคู่แข่ง

  12. คือ การตัดสินใจ หรือการกระทำใดๆ ที่จะสร้างภาพลักษณ์ในใจของลูกค้า (ประโยชน์ที่ลูกค้าต้องการ) ที่จะมีต่อสินค้า เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง ปัจจัยสำคัญในการวางตำแหน่งทางการตลาด • ลูกค้าคือใคร • ความต้องการของลูกค้า • สินค้าของเรา • สินค้าของเราตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างไร • คู่แข่งหลัก • คุณลักษณะเด่นของสินค้า การวางตำแหน่งทางการตลาด(Market Positioning) เมื่อนึกถึงกรมอนามัย คิดถึงอะไร ต้องสร้างภาพของกรมให้เป็นเอกลักษณ์ เอกภาพ ความได้เปรียบทางการแข่งขันต้องทำBenchmarking กระบวนการผลิตโครงสร้างองค์กรความเข็มแข็งการตอบโต้ของคู่แข่งเงินทุนวัฒนธรรมและประสบการณ์ส่วนความน่าสนใจก็ต้องเปรียบเทียบกับส่วนตลาดเช่นขนาดของตลาดโดยรวมอัตราการเติบโตของตลาด PCT ตอนนี้กำลังลดลงความสามารถในการทำกำไรความสอดคล้องของลูกค้าเก่าและความเข้มข้นของการแข่งขันเมื่อกำหนดส่วนตลาดได้แล้วจึงวางตำแหน่งทางการตลาดการวางตำแหน่งทางการตลาดก็คือภาพของเราในใจลูกค้าเช่นพูดถึงกรมอนามัยลูกค้านึกถึงอะไรเราต้องสร้างภาพของกรมให้มีเอกลักษณ์มีเอกภาพลูกค้าจึงจะนึกออกจะสร้างภาพได้ก็ด้วยการใช้เครื่องมือทางการตลาดสร้างภาพให้โดนใจลูกค้า

  13. ต้องเข้าใจว่า ลูกค้าเป้าหมายให้ความสำคัญกับ เรื่องใดในการเลือกสินค้า • ต้องสร้างสินค้า และภาพพจน์ให้ลูกค้าเป้าหมาย เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน • ใช้เครื่องมือทางการตลาดเน้นย้ำภาพพจน์ ที่สร้างขึ้น หลักในการวางตำแหน่งทางการตลาด

  14. การสร้างความแตกต่าง คือ พื้นฐานการวางตำแหน่งทางการตลาด โดยใช้ปัจจัยต่อไปนี้ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ • ความรู้ • มารยาท • ความน่าเชื่อถือ • ความคงเส้นคงวา • ความรับผิดชอบ • ความเข้าใจ • ฯลฯ • ความครอบคลุม • ความรู้ / ความชำนาญ ฯลฯ • การจัดส่ง • การติดตั้ง • การบริการหลังการขาย • การรับประกัน • การอบรมลูกค้า • รูปลักษณ์ของสินค้า • ประสิทธิภาพ • คุณภาพ • ความทนทาน • ความเชื่อถือได้ • ง่ายในการซ่อมแซม การวางตำแหน่งทางการตลาด (Market Positioning) ตัวอย่าง : ยาสีฟัน ตัวอย่าง : รร.สอนภาษา ตัวอย่าง : บริษัทที่ปรึกษา ตัวอย่าง : เครื่องสำอาง ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ ร้านเสริมสวย บริษัทที่ปรึกษา ต้องสร้างภาพและสร้างสินค้าให้ลูกค้าเห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนต้องเข้าใจว่าลูกค้าให้ความสำคัญเรื่องใดและใช้เครื่องมือทางการตลาดตอกย้ำภาพพจน์ที่สร้างขึ้นการสร้างความแตกต่างมีหลายปัจจัยเช่นแตกต่างด้วยคุณภาพของสินค้าและบริการแตกต่างด้วยพนักงานที่ให้บริการด้วยความสามารถของพนักงานเป็นต้น“กรมอนามัยจะสร้างความแตกต่างได้อย่างไร” • หนังสือแนะนำ: ของอาจารย์เกษม1.เพื่อธุรกิจ SMES กลยุทธ์การล้มช้างกระแสลมปากปากต่อปาก • 2.OTOP นักสู้ชาวบ้านนักการตลาดชุมชน

More Related