2.15k likes | 2.86k Views
พลตำรวจตรี คำรบ ปัญญาแก้ว รองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 7. หัวข้อบรรยาย. 1. ยุทธศาสตร์ 2.เงิน 3.คน 4.เทคโนโลยี. 1. ยุทธศาสตร์. ยุทธศาสตร์ ตร. 6 ด้าน 1. ความมั่นคงของชาติ 2. การให้บริการที่ดีแก่ประชาชนและชุมชน
E N D
พลตำรวจตรี คำรบ ปัญญาแก้วรองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 7
หัวข้อบรรยาย 1.ยุทธศาสตร์ 2.เงิน 3.คน 4.เทคโนโลยี
ยุทธศาสตร์ ตร. 6 ด้าน 1.ความมั่นคงของชาติ 2.การให้บริการที่ดีแก่ประชาชนและชุมชน 3.การควบคุมอาชญากรรมให้อยู่ในระดับที่ไม่กระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างปกติสุขของประชาชน 4.การอำนวยความยุติธรรม 5.การควบคุมการจราจรและการบริการสังคม 6.การบริหารจัดการที่ดี นโยบาย ตร. -นโยบายเฉพาะหน้า -นโยบายเร่งด่วน ๖ เดือน -นโยบายสำคัญ ๑ ปี -นโยบายระยะ ๓ ปี ยุทธศาสตร์ ยุทศาสตร์ชาติ รัฐบาล กระทรวงต่างๆ มท ตร. บช. จว. บก. ยุทธศาสตร์ ภ.จว. สภ. สภ. สภ. มวลชน เป็นฐาน
การประชุมที่ควรต้องให้ความสำคัญการประชุมที่ควรต้องให้ความสำคัญ • กระประชุมบริหาร บช. • การประชุมหัวหน้าส่วนราชการจังหวัด • การประชุมความมั่นคง ******** • การประชุมคณะกรรมการพัฒนาจังหวัด กพจ. • การกระชุมระดับ บก. * ทุกเดือน • การประชุมระดับ สภ. ** ทุกสัปดาห์ • * การประชุมที่ ประธาน เป็น VIP + นโยบาย • * ควรต้องมีการทำการบ้านก่อนทุกครั้ง
การบูรณาการส่วนราชการจังหวัดการบูรณาการส่วนราชการจังหวัด 1.ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัด 2.อัยการจังหวัด 3.นายก อบจ. 4.ป้องกันจังหวัด 5.พัฒนาการจังหวัด 6.เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด 7.ผอ.สนง.ขนส่งจังหวัด 8.ผอ.สนง.บำรุงทางนนทบุรี 9.ท้องถิ่นจังหวัด 10.ผอ.สนง.คุมประพฤติจังหวัด 11.สัสดีจังหวัด 12.เจ้ากรมพลาธิการทหารบก 13.คลังจังหวัด 14.หน.สำนักงานยุติธรรมจังหวัด 15.ผบ.เรือนจำจังหวัด 16.ผอ.สำนักงานคุมประพฤติ 17.แรงงานจังหวัด 18.สรรพสามิตพื้นที่นนทบุรี 19.ธนารักษ์พื้นที่นนทบุรี 20.นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 21.สถิติจังหวัด 22.พาณิชย์จังหวัด 23.เกษตรและสหกรณ์จังหวัด 24.พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัด 25.โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด งานตำรวจ - ความมั่นคง + ถปภ. - ควบคุมอาชญากรรม - ป้องกัน - ปราบปราม - สอบสวน - สืบสวน - จราจร ทำให้ประชาชนมีความสุข – เชื่อมั่น – ศรัทธา - ไว้วางใจ
ตำรวจที่ดี จะต้องมีประชาชนอยู่ในหัวใจ ( การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์แผนใหม่ ตำรวจไทยในอนาคต พล.ต.ท. พงศพัศ พงษ์เจริญ )
อย่าหลง ความเชื่อมั่นศรัทธา = สถิติตัวชี้วัด
งบประมาณขาดแคลน ? มีไม่พอ - ทำงานไม่ได้ ( ไม่มีประสิทธิภาพ ) - ขอสนับสนุนนอกระบบ (ถูกกล่าวหาสีเทา) - ใช้ไม่ถูกต้อง (ผิดวัตถุประสงค์)
ผู้บังคับการควรรู้เกี่ยวกับงบประมาณ บ้าง - รู้แหล่งงบประมาณ - รู้วิธีการหางบประมาณ -รู้วิธีใช้งบประมาณ * ไม่ต้องทำเป็น แต่ใช้คนเป็น
โครงสร้างของ ตร. หน่วยงานใน ตร. Function Aproach Area Aproach บชน. Operation Admins บช.ภ.1 – 9 ,ศชต. ปฏิบัติการสนับสนุน สนับสนุนปฏิบัติการ สกพ. สกบ. จตร. ฯ ตชด. สตม. สวท. ฯ ทล. รฟ. ทท. ปม.
งบประมาณของตำรวจ - 9 ตำรวจส่วนกลาง Function Approach 1. ได้รับงบประมาณจาก ตร. 2. หน่วยงานเจ้าของภารกิจ(ทท., ทล.,รฟ.เป็นต้น) ตำรวจภูธรจังหวัด/สถานีตำรวจ Area Approach 1. ได้รับงบประมาณจาก ตร. 2. ได้รับงบประมาณจากองค์กรปกครองท้องถิ่น 3. ได้รับงบประมาณจังหวัดบูรณาการ
- 9 ที่มาของงบประมาณในระดับตำรวจภูธรจังหวัด ตร. อบต. / เทศบาล อบจ. CEO พื้นที่ดำเนินงาน มากกว่า 1 อบต./เทศบาล สนับสนุน ยุทธศาสตร์จังหวัด • เงินเดือน / ค่าจ้าง • งบค่าใช้สอย • งบผูกพัน/ลงทุน สภ.อ. สภ.ต. นปพ., สส.ฯ บช.ภ. ภ.จว. ปปส.
- 9 งบประมาณ ภ.จว.ที่ได้รับจาก ตร. • ได้รับงบประมาณจาก ตร. 3 ประเภท ได้แก่ • งบบุคลากร (เงินเดือน/ค่าจ้าง) • งบดำเนินงาน (ใช้สอย / วัสดุ) • งบลงทุน (ครุภัณฑ์ /ที่ดิน / สิ่งก่อสร้าง / งบผูกพัน)
กรอบภารกิจของ อบต./เทศบาล ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ - 9 มาตรา 16 ของ พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 กำหนดให้ เทศบาล เมืองพัทยาและ อบต.จัดระบบบริการสาธารณะ ดังนี้ 1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ฯลฯ 26. การขนส่งและวิศวกรรมจราจร ฯลฯ 30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการ ป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และนโยบายรัฐบาล - การแก้ไขปัญหายาเสพติด
กรอบภารกิจของ อบจ. - 9 มาตรา 17 ของ พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 กำหนดให้ อบจ.จัดระบบ บริการสาธารณะ ดังนี้ 1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ฯลฯ 21. การขนส่งและวิศวกรรมจราจร ฯลฯ 23. การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัด และนโยบายรัฐบาล - การแก้ไขปัญหายาเสพติด
- 9 รายได้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ภาษีที่จัดเก็บภายในท้องถิ่น • - ภาษีโรงเรือน • - เทศบัญญัติ • - ค่าปรับต่างๆ (ค่าปรับจราจร) • 2. งบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล • (กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น มท.)
- 9 หลักการจัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • เป็นโครงการที่ท้องถิ่นมีหน้าที่ แต่ไม่สามารถดำเนินการได้ด้วย • หน่วยงานตนเอง อาทิเช่น • การรักษาความสงบเรียบร้อยความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • ของประชาชน • การแก้ไขปัญหาการจราจร • การแก้ไขปัญหายาเสพติด(มท.กำหนดทุกท้องถิ่นต้องตั้งงบ 5%) 2. กรณีเทศบาลและ อบต. จะต้องดำเนินการเฉพาะในท้องถิ่นนั้น 3. กรณี อบจ.จะต้องเป็นการดำเนินการคาบเกี่ยวพื้นที่ตั้งแต่ 2 ท้องถิ่นขึ้นไป และไม่ซ้ำซ้อนกับการดำเนินการของท้องถิ่น
การติดต่อประสานงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - 9
- 9 วงรอบการจัดทำงบประมาณ อบต./เทศบาล เดือนกรกฎาคม ก.ค.- 15 ส.ค. 15 ส.ค. – 15 ก.ย. ชุมชนจัดทำโครงการ คณะผู้บริหารเทศบาล คณะผู้บริหารอบต. ประชุมสภาเทศบาล/อบต. พิจารณาให้ความเห็นชอบ เทศบาล/อบต.จัดทำโครงการ หน่วยงานราชการในพื้นที่ ที่ขอสนับสนุนจัดทำโครงการ ปลายเดือนกันยายน กรณี อบต.เสนอนายอำเภอพิจารณา กรณีเทศบาลเสนอผู้ว่าฯ พิจารณา ปลายเดือนกันยายน เดือนตุลาคม ออกข้อบัญญัติ งบประมาณประจำปี ดำเนินการ ดำเนินการโดยท้องถิ่น จัดเป็นเงินอุดหนุน ส่งหน่วยงานที่รับการสนับสนุน
- 9 วงรอบการจัดทำงบประมาณ อบจ. เดือนกรกฎาคม 15 ส.ค. – 15 ก.ย. ชุมชนจัดทำโครงการ ก.ค.- 15 ส.ค. ประชุมสภา อบจ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ อบจ. จัดทำโครงการ อบจ. หน่วยงานในพื้นที่ที่ขอสนับสนุนจัดทำโครงการ เสนอผู้ว่าฯ พิจารณา ปลายเดือนกันยายน เดือนตุลาคม ออกข้อบัญญัติ งบประมาณประจำปี ดำเนินการ ปลายเดือนกันยายน ดำเนินการโดยท้องถิ่น จัดเป็นเงินอุดหนุน ส่งหน่วยงานที่รับการสนับสนุน
- 9 แนวทางการของบประมาณเหลือจ่ายของ อบจ./ เทศบาล/ อบต. 1. ประสานงานกับอบจ./ เทศบาล/ อบต. ว่ามีงบเหลือจ่ายหรือไม่ เท่าไหร่ 2. หากเป็นโครงการที่เสนอไปแล้วแต่ยังไม่ได้การรับอนุมัติ แต่ได้ บรรจุไว้ในแผนงานของท้องถิ่นแล้ว ให้ไปประสานเพื่อนำเข้า สภาพิจารณาอนุมัติ 3. หากเป็นเรื่องเร่งด่วน และยังไม่ได้บรรจุไว้ในแผน ให้ประสาน เพื่อนำเข้าสภาพิจารณาอนุมัติ ก็สามารถทำได้
- 9 งบประมาณจังหวัดบูรณาการ ทุกจังหวัดได้รับงบประมาณจากรัฐบาล เพื่อสนับสนุนในการดำเนินการเพื่อ บรรลุวิสัยทัศน์จังหวัด / กลุ่มจังหวัด
- 9 งบประมาณจังหวัดบูรณาการ ผวจ. (CEO) ได้รับงบประมาณ 2 ส่วน คือ 1. งบดำเนินงานประจำปี (ประมาณ 300 – 1,000 ล้านบาท) • 40 % จัดสรรเท่ากันทุกจังหวัด • 40 % จัดสรรตามจำนวนประชากร • 5 % จัดสรรตามการจัดเก็บภาษีเงินได้ • 15 % จัดสรรตามรายได้ต่อหัว
- 9 งบประมาณจังหวัดบูรณาการ 2. งบแก้ปัญหาเร่งด่วน (ประมาณ 20 – 30 ล้านบาท) • แก้ปัญหาเร่งด่วนของจังหวัด • เสริมการดำเนินการสนับสนุนนโยบายเร่งด่วนรัฐบาล • เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ
- 9 เงื่อนไขการจัดทำคำของบประมาณ จังหวัดบูรณาการ • ต้องดำเนินการภายใต้กรอบภารกิจที่อยู่ในกรอบยุทธศาสตร์จังหวัด • เป็นโครงการเพื่อแก้ปัญหาเร่งด่วนและความรุนแรงของปัญหา • เป็นการร่วมดำเนินการกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในโครงการที่เกินขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • เป็นโครงการที่มีความพร้อมสามารถดำเนินการได้ทันที • ต้องมีกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับประโยชน์ที่ชัดเจน • โครงการที่มีการลงทุนสูงต้องศึกษาผลกระทบไว้ล่วงหน้าให้พร้อม • เป็นโครงการที่เอกชนไม่สามารถดำเนินการได้
- 9 เทคนิคการจัดทำคำโครงการฯ เพื่อขอ งบประมาณจังหวัดบูรณาการ • ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ / ยุทธศาสตร์ ตร. และยุทธศาสตร์ของจังหวัด • ในโครงการจะต้องระบุว่า • - สนับสนุนกลยุทธ์ใดในแต่ละยุทธศาสตร์ (มีรหัสกลยุทธ์อ้างอิง) • - ตัวชี้วัดผลสำเร็จ คือสิ่งใด • - ผู้ได้รับประโยชน์จะต้องเป็นประชาชนในจังหวัด • 3. เป็นโครงการที่สามารถดำเนินการได้ทันที และเสร็จสิ้นในปีงบประมาณนั้นๆ • 4. ควรเป็นเรื่องที่น่าสนใจ หรือใช้เทคโนโลยีที่นอกเหนือจาก ตร.จัดหาให้ และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติสามารถอธิบายให้เห็นเป็นรูปธรรม
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดคณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ (กบจ.) - 9 คณะกรรมการ 1.1 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1.2 สมาชิกวุฒิสภา 1.3 ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน 1.4 ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด เป็นกรรมการ 1.5 หัวหน้าส่วนราชการ เป็นกรรมการ 1.6 ผู้ทรงคุณวุฒิภาคประชาชน เป็นกรรมการ 1.7 หัวหน้าสำนักงานจังหวัด เป็นเลขานุการ
- 9 การขอสนับสนุนงบแก้ปัญหาของ ผู้ว่า CEO • เป็นโครงการเร่งด่วนสามารถดำเนินการได้ตลอดปี(ถ้ามีเงินเหลือ) • ควรเป็นโครงการเชิงพัฒนาเพื่อประสิทธิภาพ แต่มีใช้จัดซื้อวัสดุ • ครุภัณฑ์ • 3. โครงการควรใช้งบประมาณไม่มาก
- 9 สรุปเทคนิคสำคัญสำหรับการจัดทำของบประมาณจาก จังหวัดบูรณาการและองค์กรปกครองท้องถิ่น 1. ต้องไม่ใช่โครงการพัฒนาหน่วยงานของตำรวจและไม่ใช่ภารกิจประจำที่ต้องดำเนินการอยู่แล้ว 2. ควรเน้นการการดำเนินการและจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์หรือเทคโนโลยีที่ ตร.ไม่มีงบประมาณสนับสนุน และให้มีสัดส่วนมากกว่าการจัดทำโครงการฝึกอบรม 3. สร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวกับผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น รวมทั้ง สส., สว. ในพื้นที่ 4. สร้างทีมงานในการจัดทำโครงการเพื่อเป็นกลุ่มประสานงานกับทีมงาน ผู้ว่าราชการจังหวัดและทีมงานผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น( นักคิด, นักเขียน, บริหารโครงการ) 5. การประชุมของ กบจ. ผบก.ควรเข้าประชุมด้วยตนเองหรือมอบ รอง ผบก.และ ผกก.อก.ที่ได้รับมอบหมายโดยเฉพาะเข้าประชุมอย่างต่อเนื่อง
- 9 การบริหารโครงการเมื่อได้รับงบประมาณตามคำขอ จากจังหวัดบูรณาการและองค์กรปกครองท้องถิ่น • ตั้งคณะทำงาน โดยควรมีคณะที่ปรึกษาจากบุคคลภายนอก เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย บุคคลสำคัญ ตัวแทนชุมชนหรือนักการเมืองท้องถิ่น • 2. จัดทำแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายเงิน ในแต่ละโครงการ โดยมีการกำหนดระยะเวลาการดำเนินการตั้งแต่เริ่มจนกระทั่งสิ้นสุดโครงการอย่างชัดเจน • 3. จัดเตรียมทีมงานจัดซื้อ จัดหา ให้มีความพร้อมทั้งความรู้ ความสามารถ • 4. หากเป็นโครงการจัดกิจกรรมฝึกอบรม หรือเป็นงานมวลชน ควรเชิญ ผวจ. • หรือนายก อบจ., เทศบาล, อบต. ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณเข้าร่วม • กิจกรรม
ปัญหาของผู้บังคับการ 1.ขอผู้บริหาร แล้วรับปากแต่เวลาพิจารณาไม่ได้ - ขอด้วยปากเปล่า + ไม่มีโครงการ ( เขียนไม่สอดคล้อง ) - เสนอโครงการไม่ตามห้วงเวลา ( เขียนไม่ทัน ) - ไม่มีเจ้าหน้าที่ติดตาม กับเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ ( ตัวนายกฯ บางที่อาจไม่ชัดเจนในระเบียบ ) - ผบก.ฯ ไมเข้าใจโครงการ ( เขียนโดยเจ้าหน้าที่ ) ชี้แจงไม่ชัดเจน - ขาดทีมงานฝ่ายอำนวยการที่เข้าใจ และรับผิดชอบ 2.ขอเกินขอบเขตอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่สนับสนุน / ผิดวัตถุประสงค์ 3.ขอมากเกินไป ( เกินกำลังผู้ให้ ) 4.ขอมาแล้ว บริหารไม่โปร่งใส หรือไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 5.ความสัมพันธ์ ระหว่างผู้บริหาร กับ หน่วยงานไม่ราบรื่น ฯลฯ
คนขาดแคลน ? อัตราสากล ตำรวจ 1 : ประชากร 500 คน อัตราคนครอง 60 – 70 % อัตราจริง
การแก้ปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มจำนวน การบูรณาการ * ต้องจัดเป็นระบบ
การแก้ปัญหา 1 เพิ่มตำรวจ ? เพิ่มจำนวน อปพร. จัดหาอาสาสมัคร อาสาสมัคร เทศกิจ * ต้องจัดเป็นระบบ
อาสาจราจร มีการจัดอาสาจราจร เข้าเพิ่มการสนันบสนุนการปฏิบัติงานของตำรวจจราจรในเขตจังหวัดนนทบุรี จำนวน 150 นาย
การฝึกอบรมทบทวนเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ และทักษะในการ ปฏิบัติงานของอาสาจราจร
อปพร. มีการฝึกอบรมประชาชนจำนวน 2% ของประชากรไว้เป็นอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน โดยขึ้นอยู่กับองค์กรท้องถิ่น
เทศกิจ มีการจัดตั้งเจ้าหน้าที่เทศกิจ เพื่อคอยจัดระเบียบตาม พรบ. ที่ เกี่ยวข้อง โดยขึ้นอยู่กับองค์กรท้องถิ่น
กองกำลัง อส. มีการจัดกองกำลังอาสารักษาดินแดน (อส.)โดยขึ้นอยู่กับปกครองในพื้นที่( จังหวัด อำเภอ )
การแก้ปัญหา 2 การบูรณาการ กับภาคส่วนอื่นๆ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ * การป้องกันอาชญากรรม * การแก้ไขปัญหาจราจร * การแก้ไขปัญหายาเสพติด
โครงการศูนย์ประสานงานรักษา ความปลอดภัยประจำท้องถิ่น (ศปถ.)
โครงการ ศูนย์ประสานงานรักษาความปลอดภัยประจำท้องถิ่น (ศปถ.) การป้องกันอาชญากรรม ถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนเพื่อเป็นการจัดรูปแบบของชุมชนให้มีความพร้อมในการป้องกัน และรับมือกับอาชญากรรมในแต่ละชุมชน จึงได้จัดโครงการตั้งศูนย์ประสานงานรักษาความปลอดภัยประจำท้องถิ่นขึ้น โดยกำหนดเป็นพื้นที่ของ อบต. และเทศบาลทุกแห่งในการดำเนินการ
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อแสวงหาความร่วมมือในการป้องกันอาชญากรรม จากชุมชน 2. เพื่อกำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันอาชญากรรมให้กับชุมชน 3. เพื่อกำหนดแนวทางในการประสานงาน ในการป้องกันอาชญากรรมในชุมชน
เป้าหมายโครงการ 1. จัดตั้งศูนย์ประสานงานรักษาความปลอดภัยขึ้นในแต่ละ อบต.หรือ เทศบาล 2. กำหนดให้มีคณะกรรมการรักษาความปลอดภัยชุมชน 3. กำหนดแผนงานหรือระเบียบปฏิบัติประจำในการดำเนินงาน และการประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ 4. ส่งเสริมให้ชุดประสานพลังแผ่นดินทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม