1 / 20

มนุษย์กับความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลก

มนุษย์กับความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลก. โดย สุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการ สศช. วันที่ 1 2 มิถุนายน 2 554 ม.นเรศวร กทม. กรอบ การอภิปราย. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่ประเทศต้องเผชิญ. ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11.

kennan
Download Presentation

มนุษย์กับความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มนุษย์กับความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลกมนุษย์กับความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลก โดย สุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการ สศช. วันที่ 1 2 มิถุนายน 2554 ม.นเรศวร กทม

  2. กรอบการอภิปราย สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่ประเทศต้องเผชิญ ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ความท้าทายต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  3. Population Pyramids of Thailand 1960-2030 Source: UNFPA 2004.

  4. ไทยกำลังผ่านพ้นช่วงโอกาสจากการปันผลทางประชากร โครงสร้างในอนาคตวัยประชากรวัยทำงานจะต้องแบกรับผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น Pyramid of Thai Population 2570 2552 2513 Aging Population BabyBoom Demographic Dividend The working age population dominates the pyramid, so there is possibility that they will be well able to support the old and the young. 2513 2553 2570 The working age population has to support for a comparative large population of children. The working age population needs to support a large population of older people. Transform Transform คนเข้าสู่อุดมศึกษา Child Working Age Old • กลุ่มอายุ 55 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนมากขึ้นกลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จะลดลงกลุ่มอายุ 20-55 ปี จะคงที่ แรงงานจะเพิ่มขึ้นจำนวนไม่มาก ขณะที่ผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว • ปัญหาทางสังคมส่วนใหญ่อยู่ที่วัยเด็กและเยาวชน (10-30ปี)

  5. Global Rules & Multi Polar Multi polar Global rules Going Green : Road to the Future EU + ASEAN Sustainable Use of Resources Climate Action for Development Social-Economic Adaptation & Security Regional Cooperation + - AMERICA + - BRIC Low carbon economy Japan Asia + - • Tariff Barrier i.e. Border Carbon Adjustment ; IUU Fishing, • Non –Tariff Barrier to trade i.e. Technical barrier : EU energy using product, Energy label , Carbon label/footprint, ROHs & REACH for chemicals, มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ; AFTA, FTA Africa

  6. กฎกติกาและข้อตกลงใหม่ของโลก (Global Rules) ด้านการค้า การลงทุน ผลจากการรวมตัวของโลก (Global Integration)

  7. เทคโนโลยี แนวโน้มสู่การผสมผสานของเทคโนโลยีหลัก (IT, Bio, Materials, Nano) เกิดเทคโนโลยีสาขาหลักใหม่ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อมวลมนุษย์ 1. ผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตของปัจเจกบุคคล:สู่สังคมการสื่อสารไร้สาย มีวิทยาการที่เสริมสร้างสมรรถนะของคน 2. ผลกระทบต่อแผนการผลิตและรูปแบบการบริโภค: เน้นการลงทุนทางปัญญามากกว่าทางกายภาพ และมีนวัตกรรมเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ที่ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายได้อย่างมีคุณภาพ 3 ผลกระทบต่อพลวัตของการผลิต การค้าและบริการ เปลี่ยนแปลงสู่ธุรกิจภาคบริการรูปแบบใหม่ๆ 4 ผลต่อการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมและพลังงาน: เทคโนโลยีมีบทบาทนำในการแก้ไขปัญหาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างทางเลือกในระยะยาว ที่มา : ปฐมบทสู่การเตรียมตัวเพื่ออนาคตของประเทศไทย, เอกสารประกอบการประชุมสมัชชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 6 (2550)

  8. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไตรมาสแรก 2554 • GDP ขยายตัวร้อยละ 3.0 ชะลอตัว จากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 3.8 อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยสนับสนุนจาก • การส่งออกสินค้าและบริการสุทธิเพิ่มขึ้น (ขยายตัว 15.9 % ) • ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นมาก(-3.5 %เป็น 6.7%) • การท่องเที่ยวขยายตัว ตามนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาเมืองไทยมากขึ้น โดยเฉพาะจากทวีปเอเชีย เพิ่มขึ้น15.0% • การใช้จ่ายภาคครัวเรือนยังคงขยายตัว จากการเพิ่มขึ้นของรายได้เกษตรกรและอัตราการว่างงานยังอยู่ในระดับต่ำ (.8%) • การลงทุนภาคเอกชนเพิ่มขึ้นจากอุปสงค์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

  9. การมีงานทำและคุณภาพคนการมีงานทำและคุณภาพคน 1 คุณภาพการศึกษาของเยาวชนไทยยังมีปัญหาต่อเนื่อง เน้นจิต IMDปี 2552-2553 การประเมินวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในโครงการ PISA ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2009 - 2010 ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 NESDB

  10. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ส่งเสริมคนไทยที่มีความพร้อมให้มีบุตรเพิ่มขึ้น และมีการกระจายตัวประชากรที่เหมาะสม ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสมในทุกช่วงวัย เพิ่มโอกาสการจ้างงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน บริการด้านเศรษฐกิจและสังคมให้เท่าเทียมกันระหว่างเมืองและชนบท สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยการสร้างกระแสสังคม สร้างปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และส่งเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคล้องกับผู้เรียน สร้างแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุที่สุขภาพดีทำงาน พัฒนาคนไทย ให้มีคุณภาพ พัฒนาบทบาทของสถาบันหลักทางสังคมในการบ่มเพาะคนให้มีคุณภาพ นำภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาต่อยอดในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม บ-ว-ร พัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย เสริมสร้างทักษะให้คนไทยมีจิตสาธารณะ มีสุขภาวะที่สมบูรณ์ และสร้างจิตสำนึกให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม ค้นหาเด็กที่มีอัจฉริยภาพและความสามารถพิเศษ พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันและมีขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ เสริมสร้างค่านิยม/วัฒนธรรมที่ดีงามมาขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาทางเศรษฐกิจ/สังคม www.nesdb.go.th

  11. ยุทธศาสตร์การสร้างเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพบนฐานความรู้ยุทธศาสตร์การสร้างเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพบนฐานความรู้ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้ ที่เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเศรษฐกิจสีเขียว การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและ บริการ การผลิตและบริการสู่ ศก. สร้างสรรค์ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การปรับระบบการแข่งขัน ให้มีประสิทธิภาพ มีการ กระจายอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม พัฒนาตลาดเงินและตลาดทุน ลงทุนเพื่อพัฒนา วทน. โครงสร้างพื้นฐาน และพลังงาน การปฏิรูปกฎหมายเศรษฐกิจ และกฎ ระเบียบต่างๆ ปรับโครงสร้างการค้าและการ ลงทุน สอดคล้องกับการขยายตัวสู่เอเชีย/แอฟริกา แนวทางการ ดำเนินงาน บริหารจัดการเศรษฐกิจภาพรวมให้มีเสถียรภาพ การบริหารจัดการด้านการเงิน การบริหารจัดการด้านการคลัง เศรษฐกิจขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๕ (ณ ราคาคงที่) ดัชนีชี้วัด ด้านรายได้ การใช้จ่ายและการลงทุน ด้านการผลิตและบริการ • ผลิตภาพการผลิตรวม ๓ % โดยภาคเกษตรเพิ่มขึ้น อุตสาหกรรม ๕% บริการ ๓% • การใช้พลังงานทดแทน ๑๙% ของปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย • เพิ่มอันดับความสามารถในการประกอบธุรกิจให้เป็น ๑ใน ๑๐ ของโลก • เพิ่มมูลค่า SMEs >๔๐%GDP • อัตราการเจริญเติบโตสินค้าและบริการสร้างสรรค์> ๕% ต่อปี • ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ๑๖% และเพิ่มสัดส่วนการขนส่งทางราง ๕% • ลงทุน R&D ๑% ของ GDP สัดส่วนการลงทุนเอกชนต่อรัฐ : ๗๐ : ๓๐ • สัดส่วนการนำเข้าพลังงาน ๓% www.nesdb.go.th

  12. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคมยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 1 4 เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคนในสังคมไทย • ปรับโครงสร้าง ศก. ให้มีฐานการพัฒนาที่ทั่วถึงยั่งยืนพร้อมกับสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจฐานราก และส่งเสริม CSR /SE • สร้างค่านิยม ความไว้วางใจ และความเกื้อกูลกันให้เกิดขึ้นในสังคม • ส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองที่มีธรรมาภิบาล 3 การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วน 2 การจัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิพึงมีพึงได้ • สนับสนุนการรวมกลุ่มอาชีพที่สอดคล้องกับภูมินิเวศและวัฒนธรรมของพื้นที่ • เพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถในการจัดการปัญหาของชุมชนด้วยชุมชน อย่างเต็มที่ • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงโอกาสในการได้รับบริการและสวัสดิการทางสังคมที่มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง • พัฒนาระบบการเงินฐานรากและระบบการออมที่หลากหลาย www.nesdb.go.th

  13. ความท้าทายในเวทีโลก-ภูมิภาคความท้าทายในเวทีโลก-ภูมิภาค สร้างความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนควบคู่ การส่งเสริมไทยเป็นEducation hub, Medical Hub จัดทำ NQF เพื่อเป็นเครื่องมือรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี (กำลังคนใน7 ภาคเศรษฐกิจ-บัญชี วิศวกรรม การสำรวจ สถาปัตยกรรม การพยาบาล การแพทย์ และบริการ ทันตกรรม) • พัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในระดับอนุภูมิภาค ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • นโยบายการพัฒนาการเจริญเติบโตอย่างมั่นคง: • สร้างความมั่นคงความปลอดภัยด้านอาหาร • - การค้ามนุษย์ แรงงานต่างด้าว • - แพร่โรคติดต่อ • ก่อการร้าย

  14. NQFTQF , VQF , BQF สมรรถนะกำลังคนที่สถานประกอบการต้องการ แรงงาน นักศึกษา มาตรฐานสมรรถนะ กลุ่มอาชีพต่างๆ มาตรฐาน การทำงาน หลักสูตร อาชีวศึกษา ทำงาน การเรียน การสอน ฝึกงาน/ศึกษา/ฝึกอบรม ประเมิน ในสถานประกอบการ/สถาบัน ประเมิน ศึกษาเพิ่มเติม VQ G + VQ Knowledge worker

  15. เน้นความเชื่อมโยงกับภาคการผลิตและบริการเน้นความเชื่อมโยงกับภาคการผลิตและบริการ การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้ฯ Natural Capital (NC) Cultural Capital (CC) Financial Capital (FC) พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แนวทาง • ปรับโครงสร้างการผลิตและบริการ ให้มุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจ • สร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Creative and Green Economy) ภาคเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ใช้ประโยชน์จากการเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารโลกรวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพและสมุนไพร Physical Capital (PC) ภาคอุตสาหกรรม สร้างสินค้าที่มีการออกแบบ (ODM) และสร้างตราสินค้าเป็นของตนเอง (OBM) นำความคิดสร้างสรรค์เข้าสู่กระบวนการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม เน้นบริหารจัดการที่ดีและสร้างสินค้าท่องเที่ยวใหม่ รวมทั้งสร้างเรื่องราวของสินค้าท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต  Human Capital (HC) Social Capital (SC) ภาคบริการ-ไทยเป็น service-driven economy บนพื้น ฐานของความชำนาญเฉพาะด้านและเอกลักษณ์ความเป็นไทย พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ตามแนว Cluster (Creative hub of ASEANการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ SE

  16. ภาพอนาคตที่มีผลต่อการศึกษาภาพอนาคตที่มีผลต่อการศึกษา • Global Trend – Free Flow • ขีดความสามารถการแข่งขัน • การเปลี่ยนแปลงประชากร • การมีงานทำและตลาดแรงงานเปลี่ยน • (โลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี สารสนเทศ) • การกระจายอำนาจ • คุณภาพบัณฑิตในอนาคต • ประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นท้าทายในการเพิ่มขีดความสามารถมนุษย์ ประเด็นเชิงนโยบายการศึกษา • การเชื่อมโยงกับการศึกษาระดับอื่น ๆ • คุณภาพมาตรฐาน NQF • การพัฒนาขีดความสามารถใน • ระบบวิจัยและนวัตกรรม • การจัดกลุ่มอุดมศึกษา-บริหารเชิงกลยุทธ์ • โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเรียนรู้/วัฒนธรรม • ใฝ่รู้ รักการอ่าน เป็นกระแสสังคม • การพัฒนาแบบบูรณาการ • การเงินการคลังเพื่อการศึกษา • การแนะแนวการศึกษาและอาชีพ การศึกษาต้องมองกำลังแรงงานทั้งระบบ 37คน โจทย์อุดม ศึกษาต้องเพิ่มผลิตภาพของประเทศด้วยการให้การศึกษากับ คนทำงานและทั้งผู้สูงอายุ กำลังคนระดับอาชีวศึกษายังเป็นความต้องการที่สำคัญของประเทศ รวมทั้งกำลังคนด้านการเกษตร

  17. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติwww.nesdb.go.thสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติwww.nesdb.go.th

  18. ทิศทางและแนวโน้มการปรับโครงสร้างในอนาคตทิศทางและแนวโน้มการปรับโครงสร้างในอนาคต • ใช้แรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก • พัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้การแข่งขันด้วยราคา • พึ่งพาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศ • สร้างมูลค่าเพิ่มตลอดห่วงโซ่การผลิต • พัฒนาความสามารถในการแข่งขัน กระจายรายได้และสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจ • ยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชน • เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาคเกษตร • ส่งออกสินค้าขั้นพื้นฐานที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจต่ำ • ใช้แนวคิดสร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรมต่อยอดองค์ความรู้ และสร้างมูลค่าเพิ่มตลอดห่วงโซ่อุปทาน • ใช้ความได้เปรียบด้านที่ตั้งและเอกลักษณ์ สนับสนุนให้ไทยเป็นศูนย์กลางการกระจาย การผลิตสินค้าและบริการ บนฐานความรู้ นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • ใช้โอกาสจากกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การใช้ทรัพยากรร่วมกันในการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ 2500 2525 2553

  19. Questions and implication • Policy implications and inclusive growth • The new government must urgently set a clear policy directions that will generate “the second dividend”, otherwise Thailand will experience slower economic growth • Policies to increase in the quality of human capital of both the great wave working generations and their children, e.g., liberalization of the service sector, improving quality of education

  20. Questions and implication • Policy implications and inclusive growth • Improving human capital of the migrants’ children • Changing the immigration policy to attract skilled workers • Adopting the pro-natalist policy to raise the fertility before it is too late : because the absolute size of working population will decline before 2020. i.e., the closing of “the window of first dividend”. • Etc.

More Related