1 / 28

มิติภายนอก : การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ ๓.๗ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

กรอบและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายใน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖. มิติภายนอก : การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ ๓.๗ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน. มิติภายนอก : การประเมินประสิทธิผล.

Download Presentation

มิติภายนอก : การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ ๓.๗ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ มิติภายนอก : การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ ๓.๗ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

  2. มิติภายนอก : การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ ๓.๗ : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตกำลังแรงงานในตลาดแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือ และศักยภาพได้มาตรฐาน กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ น้ำหนัก: ร้อยละ ๖ สำหรับ สพภ. :ร้อยละ ๕ สำหรับ ศพจ. และสถาบันฯ นานาชาติ

  3. คำอธิบาย • สถานประกอบกิจการที่พัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ หมายถึง สถานประกอบกิจการที่ดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้กับบุคคลที่จะรับเข้าทำงาน และลูกจ้างของตนเองดำเนินการยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร รายละเอียดที่เกี่ยวข้อง และรายการค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน เพื่อนำไปขอยกเว้นภาษีเงินได้ และประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน สรุป= สถานประกอบกิจการที่ดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน (การฝึกเตรียมเข้าทำงาน ยกระดับฝีมือแรงงาน และฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ) และได้ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร แรงงาน เพื่อนำไปขอยกเว้นภาษีเงินได้ และประเมินเงินสมทบกองทุน

  4. ๒.ร้อยละของจำนวนสถานประกอบกิจการที่พัฒนาฝีมือและศักยภาพตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ หมายถึง ร้อยละของจำนวนสถานประกอบกิจการที่ดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้กับบุคคลที่จะรับเข้าทำงานและลูกจ้างของตนเอง ดำเนินการยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร รายละเอียดที่เกี่ยวข้องและรายการค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน เพื่อนำไปขอยกเว้นภาษีเงินได้ และประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เทียบกับจำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร รายละเอียดที่เกี่ยวข้องและรายการค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สรุป = ร้อยละคิดจากจำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร เที่ยบกับจำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร ปี ๒๕๕๕

  5. ตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๑สรุป = จำนวนผู้ผ่านการฝึกของสถานประกอบกิจการเทียบกับเป้าหมายที่ได้รับข้อมูล ๑ ต.ค. ๕๕ – ๓๐ ก.ย. ๕๖ ตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๑ ร้อยละของแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๕ เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ น้ำหนัก ร้อยละ ๑.๕ สำหรับ สพภ. ร้อยละ ๑.๕ สำหรับ ศพจ. และสถาบันฯนานาชาติ

  6. คำอธิบาย ๑. พิจารณาจากจำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในผลผลิตกำลังแรงงาน ในตลาดแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือและศักยภาพได้มาตรฐานกิจกรรมหลักส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ ระหว่าง ๑ ต.ค. ๒๕๕๕ – ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๖ เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒.กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายผลผลิตที่กำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรม

  7. สูตรการคำนวณ

  8. สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่ผ่านการฝึกอบรมจากสถานประกอบกิจการ (คน) X 100 เป้าหมายจำนวนลูกจ้างที่ได้รับ ในปี ๒๕๕๖ (คน)

  9. เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดให้เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ เท่ากับ ๑๐๐% และคิดเป็น ๕ คะแนน ปรับช่วงการให้คะแนน +/- ร้อยละ ๕ ดังนี้

  10. ๓. วัดผลการดำเนินงานตามรอบปีงบประมาณ (วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖) วิธีการประเมินผลตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๑ หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานเนื่องจากการประเมินคะแนนตัวชี้วัดนี้จะใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบบริการตามภารกิจกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th)

  11. ตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๒ ร้อยละของจำนวนสถานประกอบกิจการ ที่ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตรตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการ พัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ คำอธิบาย ๑. พิจารณาจากจำนวนสถานประกอบกิจการที่ดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานและ ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร เพื่อนำไปขอยกเว้นภาษีเงินได้ และประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เทียบกับจำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕( สปก.ลูกจ้าง ๑ คนขึ้นไป)

  12. น้ำหนัก ร้อยละ ๑.๕ (สำหรับ สพภ.) ร้อยละ ๒ (สำหรับศพจ. /สถาบันฯ นานาชาติ ) ๓. จำนวนสถานประกอบกิจการ ปี ๕๕ Down Load ได้จาก Website: กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน http://home.dsd.go.th/sdpaa

  13. สูตรการคำนวณ จำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นขอรับความเห็นชอบ หลักสูตร ตั้งแต่ ตุลาคม ๕๕ –กันยายน ๕๖ (แห่ง) X 100 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นขอรับความเห็นชอบ หลักสูตร ตั้งแต่ ตุลาคม ๕๔ –กันยายน ๕๕ (แห่ง)

  14. เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดช่วงการให้คะแนน +/- ร้อยละ ๑ ดังนี้

  15. การเปลี่ยนแปลงเป้าหมายผลผลิตที่กำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรม ตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๒ หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรม เนื่องจากการประเมินคะแนนตัวชี้วัดนี้จะใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบบริการตามภารกิจกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th)

  16. หน่วยงานรับผิดชอบ : กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ/ประสานงาน : ๑. นายไพโรจน์ ชาติศิริ ผู้อำนวยการกอง ๒. นางสาวพรวินัส อู่รัชตมาศ รก.หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบ ฯ๓. นางสาวพิมพ์พร แซ่อึง นักวิชาการฝึกอาชีพ ๔. นางนิตยา หนูสันทัด นักวิชาการฝึกอาชีพ โทร ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๙

  17. ตัวชี้วัดที่ : ๓.๗.๓ ร้อยละของจำนวนผู้ประกอบกิจการที่ประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ จำนวนผู้ประกอบกิจการที่ยื่นแบบ สท.๒ ในปี ๕๖ (๑ ม.ค.๕๖ - ๓๐ ก.ย. ๕๖) เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุน ปี ๕๕(เพราะการยื่นแบบ สท. ๒ แจ้งผลการฝึกอบรมที่ดำเนินการในปี ๕๕) น้ำหนัก ร้อยละ ๒ สำหรับ สพภ. ร้อยละ ๒.๕ สำหรับ ศพจ. และสถาบันฯนานาชาติ

  18. คำอธิบาย • ผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับส่งเงินสมทบกองทุนทั้ง ฝึกครบ ฝึกไม่ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ฝึกอบรมเลย(ยอมจ่ายเงินสมทบ) ที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (สท ๒) ภายในเดือนมีนาคมของปีถัดไปทุกปี ๒.ร้อยละของจำนวนผู้ประกอบกิจการที่ประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง จำนวนผู้ประกอบกิจการที่ยื่นแบบการส่งเงินสมทบกองทุน (สท.๒) ประจำปี ๒๕๕๕ กับจำนวนผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๕

  19. ๓. ผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน หมายถึง ผู้ประกอบกิจการประเภทอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือธุรกิจอย่างอื่นที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๑๐๐ คนขึ้นไปทุกท้องที่ (ใช้ข้อมูลผู้ประกอบกิจการโดยอ้างอิงจากสำนักงานประกันสังคม ซึ่งต้องคัดเอาสถานประกอบกิจการที่ พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ ไม่ใช้บังคับหรือยกเว้นออกไป) ๔. วัดผลการดำเนินงานจากผู้ประกอบกิจการที่จัดฝึกอบรมในช่วงเวลาตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ หรือไม่ฝึกอบรม หรือฝึกอบรมแต่ไม่ครบสัดส่วนตามที่กฎหมายกำหนด หรือผู้ประกอบกิจการที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึง ๑๐๐ คน (เคยมีลูกจ้างครบ ๑๐๐ คนและได้ขึ้นทะเบียนแล้ว แต่ปัจจุบันลูกจ้างไม่ถึง ๑๐๐ คน จึงไม่ต้องฝึกลูกจ้าง แต่ต้องยื่น แบบ สท ๒) โดยยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (สท.๒) ประจำปี ๒๕๕๕ ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖

  20. จำนวนผู้ประกอบกิจการที่ ยื่นแบบ สท.๒ประจำปี ๒๕๕๕ ระหว่าง ม.ค. – ก.ย. ๒๕๕๖ (แห่ง) ______________________________________ X 100 จำนวนผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับกองทุนปี ๒๕๕๕ (แห่ง)

  21. เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดช่วงการให้คะแนน +/- ร้อยละ ๒ ดังนี้ เหตุผล :เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้แรงงานในสถานประกอบกิจการได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  22. วิธีการประเมินผล ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรม ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖พร้อมแบบรายงานการยื่นรับรองหลักสูตรและอนุมัติค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ แบบฟอร์มรายงาน Down Load ได้จาก http://home.dsd.go.th/sdpaa ให้รายงานผลประจำเดือนเป็นหนังสือหรือผ่านทาง E-mail : dsd.skill@gmail.comภายในวันที่ ๕ ของเดือนถัดไปทุกเดือน

  23. แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บแหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บ ๑. กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินการตามตัวชี้วัดและรายงานผลการดำเนินงาน ๒. กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นเจ้าภาพหลักในการรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงาน

  24. หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ/ประสานงาน : ๑. นายไพโรจน์ ชาติศิริ ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เบอร์ติดต่อ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๙ ๒. นายเฉลิมพล เนียมสกุล หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เบอร์ติดต่อ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๗ ๓. นางสาวพรวินัส อู่รัชตมาศ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน เบอร์ติดต่อ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๙ ๔. นางสาวพิมพ์พร แซ่อึง นักวิชาการฝึกอาชีพ เบอร์ติดต่อ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๙ ๕. นายวิชาญ ศรีเล็ก นักวิชาการฝึกอาชีพ เบอร์ติดต่อ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๗ ๖. นายชยานนท์ อินทร์มีนักวิชาการฝึกอาชีพ เบอร์ติดต่อ ๐ ๒๒๔๕ ๑๗๐๗ ต่อ ๔๑๙

  25. สรุป วิธีการประเมินผล ๑. ตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๑ และตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๒ หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรม เนื่องจากการประเมินคะแนนตัวชี้วัดนี้จะใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบบริการตามภารกิจกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th) ๒. ตัวชี้วัดที่ ๓.๗.๓ หน่วยงานต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรมในวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ พร้อมแบบรายงานการยื่นรับรองหลักสูตรและอนุมัติค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ดาวโหลดแบบฟอร์มรายงานได้จาก เว็บไซต์ของกองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน http://home.dsd.go.th/sdpaaและให้ส่งรายงานผลประจำเดือนภายในวันที่ ๕ ของทุกเดือนโดยสามารถส่งแบบรายงานผลประจำเดือนเป็นหนังสือหรือผ่านทางE-mail : dsd.skill@gmail.com

  26. จบแล้วครับ

  27. สวัสดี

More Related