740 likes | 1.51k Views
ขั้นตอนการดำเนินการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. โดย นายสุรินทร์ พรประพันธ์ รองผู้อำนวยการฝ่าย และผู้บริหาร ฝ่ายบริหารโครงการภาครัฐ บมจ.ธนาคารกรุงไทย. 1. บทบาทหน้าที่ของ บมจ.ธนาคารกรุงไทย 2. การให้บริการกับสถานศึกษา 3. การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงินกองทุนฯ
E N D
ขั้นตอนการดำเนินการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาขั้นตอนการดำเนินการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา โดย นายสุรินทร์ พรประพันธ์ รองผู้อำนวยการฝ่าย และผู้บริหาร ฝ่ายบริหารโครงการภาครัฐ บมจ.ธนาคารกรุงไทย
1.บทบาทหน้าที่ของ บมจ.ธนาคารกรุงไทย 2. การให้บริการกับสถานศึกษา 3. การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงินกองทุนฯ 4. สรุปการดำเนินงานของธนาคาร หัวข้อการบรรยาย
1.บทบาทหน้าที่ของ บมจ.ธนาคารกรุงไทย ตาม พรบ.กองทุน กยศ. ปี พ.ศ.2541 1.) ประชาสัมพันธ์ นโยบาย/ระเบียบ/วิธีการกู้ 2.) แนะนำ/อำนวยความสะดวก 3.) จ่ายเงินกู้ และจัดเก็บเอกสาร 4.) แจ้งจำนวนหนี้ และสถานะของหนี้ 5.) รับชำระหนี้ติดตามทวงถามและดำเนินคดี 6.) จัดทำรายงานการดำเนินการเสนอต่อคณะกรรมการ 7.) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
2. การให้บริการกับสถานศึกษา 2.1 เปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ให้กับสถานศึกษา - บัญชีรับโอนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่อง กับการศึกษา - บัญชีค่าใช้จ่ายดำเนินงานกองทุนฯ
2. การให้บริการกับสถานศึกษา(ต่อ) • 2.2 การโอนจ่ายเงินกู้ • ค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา (จ่ายเข้าบัญชีสถานศึกษา) • ปีการศึกษา 2556 กยศ. กำหนดให้สถานศึกษาจะ ต้องทำระบบ e-Audit ก่อน • 2.3 รับชำระเงินคืนจากสถานศึกษา
2. การให้บริการกับสถานศึกษา(ต่อ) 2.3 รับชำระเงินคืนจากสถานศึกษา ลักษณะการรับคืนเงิน รับคืนเงินค่าบำรุงการศึกษา ค่าเล่าเรียน ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียมการศึกษา หรือค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา โดยสถานศึกษาจะเป็นผู้นำส่งคืนกองทุนฯ ซึ่งได้จัดแบ่งวัตถุประสงค์การคืนเงินกองทุนฯในระบบ Teller Payment ออกเป็น 4 วัตถุประสงค์ คือ
วัตถุประสงค์การรับชำระคืนเงินกองทุนฯ ผ่านระบบ Teller Payment 1.เงินค่าลงทะเบียนส่วนเกิน 2. เงินค่าเล่าเรียนของผู้กู้ที่พ้นสภาพนักเรียน/นักศึกษา 3. เงินคืนเนื่องจากยกเลิกสัญญาฯ และแบบยืนยันฯ 4. เงินคืนกรณีอื่น ๆ
วิธีปฏิบัติของสถานศึกษาในการชำระคืนเงินกองทุน กยศ. • สถานศึกษาต้องตรวจสอบยอดเงินแบบฟอร์ม กยศ. 205 และกยศ. 206 ให้ยอดเงินเท่ากัน • นำไปยื่นชำระเงินที่สาขาธนาคาร • สถานศึกษาต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์ม กยศ.206 และใบสรุปแบบฟอร์ม กยศ.205 จำนวน 3 ชุด
ค่าธรรมเนียมการคืนเงินกองทุน กยศ. และ กรอ. ผ่านระบบ Teller Payment - ธนาคารคิดค่าธรรมเนียมการคืนเงินรายการละ 10 บาท - กรณีที่คืนเงินรายการละน้อยกว่า หรือเท่ากับ 10 บาท ไม่คิดค่าธรรมเนียม - กรณียกเลิกสัญญา แบบยืนยัน คิดค่าธรรมเนียมครั้งละ 10 บาท
การส่งเอกสารกองทุน กยศ.ให้ธนาคาร -สถานศึกษาต้องส่งสำเนารายละเอียดการคืนเงินของผู้กู้ยืมเพื่อชำระหนี้กองทุนฯ กยศ.205 และ กยศ.206 และ สลิปที่ได้ทำการคืนเงินแล้วไปที่ บมจ.ธนาคารกรุงไทย ฝ่ายบริหารโครงการภาครัฐ เลขที่ 10 อาคารสุขุมวิท ชั้น 14 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กทม. 10110 หรือ โทรสารหมายเลข 0-2256-8198
-สถานศึกษาต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มใบแจ้งคืนเงินกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต(กรอ.) และแบบฟอร์ม รายละเอียดการคืนเงินของผู้กู้ยืมเพื่อชำระหนี้ ”กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต(กรอ.) “ จำนวน 3 ชุด -นำไปยื่นชำระเงินที่สาขาธนาคาร วิธีปฏิบัติของสถานศึกษาในการชำระคืนเงิน กองทุน กรอ.
2. การให้บริการกับสถานศึกษา(ต่อ) 2.4 AUTO MAIL - รายงานการโอนเงินค่าเล่าเรียน - การติดตามเอกสาร กรณี สัญญา/เอกสารประกอบสัญญา/แบบลงทะเบียนเรียนไม่ถูกต้อง
2. การให้บริการกับสถานศึกษา (ต่อ) 2.5 การตอบข้อซักถาม (1) ทาง E – mailติดต่อ Webmaster : gsl@ktb.co.th (2) งาน Help Desk 0-2208-8699 (3) สายด่วน บภร. สำหรับผู้ปฏิบัติงาน กยศ. ของสถานศึกษา
สายด่วน บภร.สำหรับผู้ปฏิบัติงาน กยศ.ของสถานศึกษา • ภาคเหนือ คุณจันทนา พรประพันธ์ โทรศัพท์ 08-6781-5549 • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คุณรัตนา ศรีอุดมพงษ์ โทรศัพท์ 08-6781-6104
ภาคภาคกลาง • คุณสุมาลัย อัศวรัตน์ • โทรศัพท์ 08-6781-6235 • ภาคใต้ คุณธัญญพัฒน์ โอตตัปปะวงศ์ โทรศัพท์ 08-6781-6126 • ภาคตะวันออก กรุงเทพฯและปริมณฑล คุณอิสรีย์ ธนธันยนันท์ โทรศัพท์ 08-6781-5907
3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ. 3.1 เปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ให้กับผู้กู้ยืมรายใหม่ 1. ต้องมี“ใบแจ้งผลการอนุมัติให้กู้ยืมเงินฯ”จากสถานศึกษา
รช.001/55 มหา“ ลัยเหมืองแร่ นาย กองทุน กยศ. “ใบแจ้งผลการอนุมัติให้กู้ยืมเงินฯ”จากสถานศึกษา นาย อนุมัติ เงินกู้. อธิการบดี
4. ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมจัดทำบัตร ATM. และค่าธรรมเนียม รายปี(เฉพาะบัตรธรรมดา ใบที่ 1 และเฉพาะปีแรกเท่านั้น) 3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ.(ต่อ) 3.1 เปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ให้กับผู้กู้ยืมรายใหม่ 1. ต้องมี“ใบแจ้งผลการอนุมัติให้กู้ยืมเงินฯ”จากสถานศึกษา 2. เปิดบัญชีที่สาขาของธนาคารกรุงไทยเท่านั้น / KTB e-Saving 3. เปิดบัญชีเป็น 0 (ศูนย์) บาทได้
3. ชำระค่าธรรมเนียมจัดทำบัตร ATM. และค่าธรรมเนียมรายปี 3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ.(ต่อ) 3.2 เปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ให้กับผู้กู้ยืมรายเก่า 1. เปิดบัญชีที่สาขาของธนาคารกรุงไทย ที่สะดวก 2. เปิดบัญชีขั้นต่ำ 500 บาท ตามระเบียบทั่วไปของธนาคาร
3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ.(ต่อ) 3.3 การโอนเงินค่าครองชีพให้กับผู้กู้ยืม - ธนาคารโอนเงินภายใน 3 วัน นับจากวันที่ได้รับข้อมูลจากกองทุนฯ
5. ผู้กู้ไม่ได้บันทึกการกู้เงินค่าครองชีพในระบบ สาเหตุที่ผู้กู้ยังไม่ได้เงินค่าครองชีพ 1. สถานศึกษาดำเนินการไม่ครบขั้นตอนในระบบ 2.ผู้กู้เปลี่ยนแปลงชื่อ-นามสกุล/เลขที่บัญชีเงินฝาก 3.บัญชีเงินฝากของผู้กู้ถูกปิด 4. ผู้กู้ถูกระงับการโอนเงิน เช่น พ้นสภาพ, ลาออก, พักการเรียน, ขาด เรียน, ไม่มาลงทะเบียน, ไม่ประสงค์กู้ต่อ, ขอยกเลิกสัญญา, ตาย
3.4 การรับชำระหนี้ 3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ.(ต่อ) ผู้กู้ยืมสามารถชำระหนี้คืนกองทุนฯผ่านระบบรับชำระหนี้ ปัจจุบันได้ 6 ช่องทาง ดังนี้
3.4 การรับชำระหนี้ ช่องทางที่ 1 หักบัญชีอัตโนมัติจากบัญชีออมทรัพย์ของผู้กู้ -ผู้กู้ยืมต้องนำเงินเข้าบัญชีก่อนวันที่ 5 กรกฎาคม ( เงินต้น + ดอกเบี้ย ในตารางผ่อนชำระ + ค่าธรรมเนียมครั้งละ 10 บาท) ( ปัจจุบันใช้ได้เฉพาะกองทุน กยศ.) - หลักฐานการหักบัญชีปรากฏในสมุดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์
3.4 การรับชำระหนี้ (ต่อ) ช่องทางที่ 2 ชำระที่เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย - ผู้กู้จะได้รับ “ ใบรับเงินเพื่อชำระหนี้ฯ” เป็นหลักฐาน - ผู้กู้ยืมสามารถชำระเงินมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินงวด - ชำระเงินเมื่อใดก็ได้ในเวลาทำการ ของธนาคาร
ให้ลูกค้ากรอกข้อมูล ของตนเอง สลิปสำหรับธนาคาร
3.4 การรับชำระหนี้ (ต่อ) ช่องทางที่ 3 ชำระผ่านเครื่อง ATM - ผู้กู้จะได้รับ “ ใบบันทึกรายการชำระหนี้ กยศ. ” เป็นหลักฐาน • ผู้กู้ยืมสามารถชำระเงินมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินงวด - ชำระเงินเมื่อใดก็ได้
ตัวอย่างใบบันทึกรายการชำระหนี้ กยศ. ผ่านเครื่อง ATM
3.4 การรับชำระหนี้ (ต่อ) ช่องทางที่ 4 ชำระทาง Internet ธนาคารกรุงไทย - ชำระเงินมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินงวด หรือ ชำระเงินเมื่อใดก็ได้ - ต้องสมัคร KTB Online - ตรวจสอบยอดหนี้ทาง Internet
ขั้นตอนที่ 1 เพิ่มหน่วยงานที่ต้องการชำระเงิน
ขั้นตอนที่ 2 วิธีการชำระเงินกู้ยืม กยศ.
ขั้นตอนที่ 3 เรียกดูรายการหักบัญชี(ถ้าต้องการ)
3.4 การรับชำระหนี้ (ต่อ) ช่องทางที่ 5 ชำระผ่าน KTB Online @ Mobile - ชำระเงินมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินงวด หรือ ชำระเงินเมื่อใดก็ได้ - สมัครใช้บริการได้ที่สาขาของธนาคารกรุงไทย ตู้เอทีเอ็ม และ KTB Online
3.4 การรับชำระหนี้ (ต่อ) ช่องทางที่ 6 ชำระผ่านบริการกรุงไทยเทเลแบงก์ - ชำระเงินมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินงวดหรือ ชำระเงินเมื่อใดก็ได้ - ผู้กู้ยืมสามารถทำรายการชำระเงิน(Payment)โดยการหักบัญชี S/A หรือ C/A ชำระหนี้ กยศ. และ กรอ. ได้ด้วยตนเองผ่านโทรศัพท์ชนิดกดปุ่มหมายเลข 1551 - สมัครใช้บริการได้ที่สาขาของธนาคารกรุงไทย
3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ. 3.5 การผ่อนผันชำระหนี้ 1. ไม่มีรายได้ 2. รายได้ต่ำกว่าเดือนละ 4,700.-บาท 3. ประสบภัยพิบัติจากธรรมชาติ, สงคราม, จลาจล,อัคคีภัย
หลักเกณฑ์การผ่อนผันชำระหนี้หลักเกณฑ์การผ่อนผันชำระหนี้ เอกสารเพื่อประกอบการผ่อนผัน - หนังสือรับรองจากผู้ใหญ่บ้านหรือ ข้าราชการ ระดับ 5 หรือเทียบเท่าขึ้นไป • สำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัวผู้รับรอง • แบบฟอร์ม กยศ. 202 และ กยศ. 203 - หนังสือรับรองจากผู้ใหญ่บ้าน หรือ ข้าราชการ ระดับ 5 หรือเทียบเท่าขึ้นไป - หนังสือรับรองรายได้/แสดงรายได้ จากหน่วยงาน • สำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัวผู้รับรอง • แบบฟอร์ม กยศ. 202 และ กยศ. 203 การพิจารณา ยืดเวลาได้คราว ละไม่เกิน 6 เดือน รวมแล้วไม่เกิน 2 ปี ผ่อนได้ไม่ต่ำกว่า 300 บาทต่อเดือน หรือ 2,400 บาท ต่อปี แต่ไม่น้อย กว่าดอกเบี้ย กรณี 1.ไม่มีรายได้ 2. รายได้ต่ำกว่า เดือนละ 4,700.-
หลักเกณฑ์การผ่อนผันชำระหนี้หลักเกณฑ์การผ่อนผันชำระหนี้ กรณี 3. ประสบภัยพิบัติ จากธรรมชาติ สงคราม, จราจล อัคคีภัย เอกสารเพื่อประกอบการผ่อนผัน - หนังสือรับรองจากผู้ใหญ่บ้าน หรือ ข้าราชการระดับ 5 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ตำรวจยศ ร.ต.ต. ขึ้นไป - สำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัว ผู้รับรอง -แบบฟอร์ม กยศ. 202 และ กยศ. 203 การพิจารณา ยืดเวลาได้คราว ละไม่เกิน 6 เดือน รวมแล้วไม่เกิน 2 ปี
กรณีทุพพลภาพ -ผู้กู้ยืมที่ทุพพลภาพ สามารถทำเรื่องเข้ามายังธนาคารได้ โดยธนาคารจะต้องส่งเรื่องให้กองทุนฯ เป็นผู้พิจารณาหากได้รับอนุมัติก็จะเป็นการ “ระงับการเรียกให้ชำระหนี้”
หลักเกณฑ์การพิจารณากรณีทุพพลภาพ กรณี ทุพพลภาพ เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา การพิจารณา - กองทุนฯ เป็นผู้พิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติ - หากได้รับการอนุมัติ จะถูกระงับการเรียกให้ชำระหนี้ • สำเนาสมุดประจำตัวคนพิการ (รับรองสำเนาถูกต้อง) • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้กู้ยืมและผู้ค้ำประกัน (รับรองสำเนาถูกต้อง) • สำเนาทะเบียนบ้านของผู้กู้ยืมและผู้ค้ำประกัน (รับรองสำเนาถูกต้อง) • รายงานการตรวจทางการแพทย์ • ใบรับรองแพทย์
-ยื่นขอทำบัตรคนพิการได้ที่ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของแต่ละจังหวัดการส่งเอกสาร- ส่งได้ที่งานติดตามหนี้ที่เดียวกับกรณีขอผ่อนผันชำระหนี้ - หรือส่งได้ที่สำนักงานกองทุน กยศ.อาคาร 2 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ชั้น 16 เลขที่ 63 ซอยทวีมิตร ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
3.การให้บริการกับผู้กู้ยืมเงิน กยศ. และ กรอ. 3.6 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้กู้ยืม - ผู้กู้อยู่ระหว่างการศึกษา/สำเร็จการศึกษาไม่ถึง 2 ปี -เสียชีวิต / ทุพพลภาพ - เปลี่ยนแปลง ที่อยู่ ชื่อ-นามสกุล ที่ทำงาน เลขที่บัญชี เป็นต้น