140 likes | 277 Views
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง ?. ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี. การสัมมนาเชิงวิชาการ “ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง ” 20 มิถุนายน 2550 โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัล พลาซา. ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN.
E N D
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง? ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี การสัมมนาเชิงวิชาการ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง” 20 มิถุนายน 2550 โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัล พลาซา
ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN • ยุคเริ่มแรก 1967 – 1980 : รวมตัวทางการเมืองเป็นสำคัญ • สิงหาคม 1967 --- ก่อตั้ง ASEAN เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายทางการเมืองเพื่อลดความขัดแย้งระหว่าง อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ มีไทยเป็นเจ้าภาพ • 1976 --- หลังสิ้นสุดสงครามเวียตนาม มี ASEAN Summit ครั้งแรก เริ่มมีความร่วมมือเข้มแข็งมากขึ้นขยายไปด้านเศรษฐกิจโดยมี PTA ฉบับแรกในปี 1977 ปัจจัยสนับสนุนจากกระแสต่อต้านการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์
1980-1989 : พยายามขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจมากขึ้น หลังจากวิกฤติน้ำมันครั้งที่ 2 ASEAN ตัดสินใจร่วมมือทางเศรษฐกิจมากขึ้นมีการตั้งคณะที่ปรึกษาพิเศษ เพื่อหาแนวทางและรูปแบบการร่วมมือทางเศรษฐกิจ 1987 --- ความพยายามในการเสนอให้มีข้อตกลงจัดตั้งรูปแบบการค้าเสรีไม่สำเร็จ ทำได้แค่ขยาย PTA การลอบสังหารนักการเมืองระดับสูง (นายอาควิโน) นำไปสู่ความไม่สงบในฟิลิปปินส์ ส่งผลให้ต้องรีบยุติ การประชุม ASEAN Summit ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
ปลาย 1980s, เศรษฐกิจ ASEAN เติบโตสูงทำให้ความสนใจในการร่วมมือทางเศรษฐกิจลดลง ผลจาก Plaza Accord FDI ใน ASEAN เพิ่มสูง ช่วยเร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
1990 - 2000 : เน้นเศรษฐกิจ และขยายขอบเขตความร่วมมือ 1992 – กำเนิด AFTA การเจรจา GATT รอบอุรุกวัยมีแนวโน้มยุติ การเมืองสนับสนุน โดยทั้งผู้นำไทย (คุณ อานันท์) และอินโดนีเซีย (ซูฮาร์โต) สนับสนุน และผลักดันเต็มที่ มีการเตรียมการที่ดี เพราะมีการศึกษาไว้ ล่วงหน้า ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
1997 : ASEAN Vision 2020 --- มุ่งไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน คือการเป็นประชาคมที่มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทั้งด้านการค้า การลงทุน แรงงาน และอื่นๆ ในปี 2020 1998 --- แผนปฏิบัติการฮานอย โดยเร่ง AFAS 1999 – ขยายขอบเขตความร่วมมือ จาก ASEAN – 6 เป็น ASEAN-10 ASEAN +3รวม จีนญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
ASEAN Vision 2020 ไม่ค่อยคืบหน้า หลายประเทศสมาชิกเผชิญวิกฤตการเงิน ในปี 1997/1998 จึงต้องเร่งแก้ปัญหา ภายใน ปัจจัยในเรื่องของพม่า ทำให้ชะลอ ความก้าวหน้าในหลายเรื่อง การรวมกลุ่มเอเชียตะวันออกมาแรงกว่า ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
ASEAN ในศตวรรษ 21 เศรษฐกิจผูกพันกับนอก ASEAN เพิ่มขึ้น แข่งกันทำ FTAs 2001 --- 9/11 ทำให้ประเด็นก่อการร้ายสากลแพร่ขยาย ลดความสำคัญด้านร่วมมือเศรษฐกิจ 2002 --- ญี่ปุ่นเสนอความร่วมมือทาง เศรษฐกิจกับ ASEAN เพื่อก่อตั้ง EAEC --- จีนลงนาม FTA กับ ASEAN EAEC มาแรงกว่า AEC ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
2003 --- พยายามฟื้นฟู ASEAN Vision 2020 ที่เสนอในปี 1997 ร่นเวลา ASEAN Community มาเป็น 2015 แบ่งความร่วมมือเป็น 3 เสาหลัก --- มั่นคง, เศรษฐกิจ, สังคม & วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ มีเครื่องมือเพื่อบรรลุ AEC 3 ด้าน AFTA AIA AFAS ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
2004/2005 --- การผลัดเปลี่ยนทางการเมือง มี.ค. --- มาเลเซีย ได้ นรม.ใหม่ Badawi แทน Mahathir ที่อยู่ในอำนาจอย่างยาวนาน เม.ย. --- อินโดนีเซียมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรงครั้งแรก หลังจากความไม่แน่นอนและการเปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลา 6ปี ได้ Yudhoyono เป็นประธานาธิบดี พ.ค. --- สมัยที่สองของ Arroyo ในฟิลิปปินส์ ส.ค. --- สิงคโปร์ได้ นรม.ใหม่ Lee Hsien Lung ก.พ. 05 --- นรม.ทักษิณ เป็นรัฐบาลครั้งที่สอง มีการเปลี่ยนแปลงผู้นำทางการเมืองที่เคยมีบทบาทใน ASEAN มาอย่างยาวนาน ก้าวย่างสำคัญของ ASEAN (ต่อ)
อนาคตของ AEC • การค้าและการลงทุนเป็นปัจจัยสำคัญในการเร่งการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ • การค้าสินค้า --- AFTA ภาษีเกือบ 0% แล้วสำหรับรายการสินค้าที่ตกลงใน ASEAN-6, CLMV ยังค่อยเป็นค่อยไป • การค้าบริการ --- AFAS ยังไปไม่ถึงไหน • การลงทุน – มีความก้าวหน้าในบางอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ ระดับการพัฒนาที่แตกต่างระหว่างสมาชิกเดิมและใหม่ ทำให้การเปิดเสรีเต็มที่ระหว่างกันชะลอออกไป
อนาคตของ AEC (ต่อ) • ต้องอาศัยการเมืองที่เข้มแข็งและมีฝ่ายเทคนิคสนับสนุน • การเกิด AFTA มีจังหวะของการเมืองเหมาะสม มีผู้นำที่เข้มแข็งสนับสนุน ประกอบกับมีการเตรียมการล่วงหน้าที่ดี • กรณี AEC การเมืองในภูมิภาคยังไม่มีเสถียรภาพ แม้จะมีฝ่ายเทคนิคที่พร้อมแล้วก็ตาม (High Level Task Force on ASEAN Economic Integration)
อนาคตของ AEC (ต่อ) • สถานภาพการเมืองใน ASEAN • การเมืองสิงคโปร์มีเสถียรภาพที่สุด แต่ระดับการนำในภูมิภาคยังไม่เพียงพอ • ภาวะการเมืองในไทย กับ ฟิลิปปินส์ ไม่มั่นคง มีความไม่แน่นอนสูง • แม้ว่าอินโดนีเซียจะมีภาวะการเมืองที่มั่นคงโดยเปรียบเทียบมากที่สุดในปัจจุบัน แต่ผู้นำให้ความสนใจในการจัดบ้านตัวเองมากกว่าจะเล่นบทนำใน ASEAN • ปัจจัยเรื่องพม่ายังสำคัญ การเมืองไม่อำนวย ขาดผู้มีบทบาทนำใน ASEAN
สรุป • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแบบเต็มรูปแบบคงเกิดขึ้นยาก เพราะขาดการเมืองสนับสนุน อีกทั้งยังมีความแตกต่างระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่มาก • รูปแบบการรวมกลุ่มที่เป็นไปได้ --- เร่ง DSM และAFAS (+AIA) • ระบบการผลิต/การค้าและการลงทุน ระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลง และการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้น บวกกับแรงสนับสนุนจากจีนและญี่ปุ่นจะทำให้เกิดความร่วมมือในกรอบ EAEC เพิ่มขึ้น