340 likes | 385 Views
การปฏิรูป และการฟื้นตัว. Kazi Matin Archanun Kopaiboon Kirida Bhaopicthr. ขอบข่ายการบรรยาย. อะไรคือกุญแจสำคัญของการฟื้นตัว ทำอย่างไรถึงจะพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชน อะไรทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็ง และทำอย่างไรให้การขยายตัวดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
E N D
การปฏิรูปและการฟื้นตัวการปฏิรูปและการฟื้นตัว Kazi Matin Archanun Kopaiboon Kirida Bhaopicthr
ขอบข่ายการบรรยาย • อะไรคือกุญแจสำคัญของการฟื้นตัว • ทำอย่างไรถึงจะพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชน • อะไรทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็ง และทำอย่างไรให้การขยายตัวดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง • กรอบนโยบายเพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ
กุญแจสำคัญของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยกุญแจสำคัญของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย • การฟื้นตัวของ GDP เริ่มต้นอย่างค่อนข้างช้า แต่ปัจจุบันเป็นรองเพียงเกาหลี • ความมีเสถียรภาพ และการปฏิรูปสนับสนุนให้มีการฟื้นตัว • ปัจจัยภายนอก เช่น ความร่วมมือระหว่างภูมิภาค • ความมีเสถียรภาพของเศรษฐกิจในระดับมหภาค และการลดความเปราะบางของเศรษฐกิจต่อปัจจัยภายนอก • การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชนยังคงอ่อนแอ – การไหลเข้าของเงินลงทุนจากต่างประเทศสูงมาก แต่การลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศยังคงซบเซา • การบริโภคภาคเอกชน และ การส่งออกเป็นแกนนำ • วิกฤตน้ำมัน ทำให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจภายหลังจากปี 2547 ชะลอตัวลง
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย เป็นรองเกาหลี
การขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน อยู่ในระดับใกล้เคียงกับเกาหลี
การปฏิรูปมีประสิทธิภาพ แต่ต้องทำมากกว่านี้เพื่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และก่อให้เกิดความมั่นคงทางสังคม • ความสำเร็จในการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระดับมหภาค • ค่าเงินบาทที่แท้จริงอ่อนตัวลงในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว • กระตุ้นการบริโภค และการลงทุนในที่อยู่อาศัย • การปฏิรูปเพื่อส่งเสริมการแข่งขัน การลงทุนภาคเอกชน และการส่งออก • การปฏิรูปเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ธนาคาร และบริษัท • การปฏิรูปเพื่อสร้างธรรมาภิบาลในระบบราชการ
การลงทุนภาคเอกชน จะสามารถฟื้นตัวได้อย่างเข้มแข็งหรือไม่?
ภาพรวมการลงทุนภาคเอกชนภาพรวมการลงทุนภาคเอกชน • การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชน ช้ากว่า ช่วงเศรษฐกิจตกต่ำก่อนหน้านี้ • สัดส่วนการลงทุนภาคเอกชน ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงทศวรรษ 1980 • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสูงกว่าในช่วงก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ โดยตัวจักรที่สำคัญ คือ อุตสาหกรรมรถยนต์ • การลงทุนจากภาคเอกชนภายในประเทศ-ซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญของการลงทุนภาคเอกชนก่อนช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ยังคงซบเซาในช่วงที่เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว • การลงทุนในที่อยู่อาศัยเติบโตรวดเร็วมากที่สุด • การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมกรรมภายหลังจากการอ่อนค่าเงินบาท ยังคงมีไม่มาก
การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชนการฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชน
การประมาณการสมการการลงทุนภาคเอกชน(Private Investment function estimate ) • เป็นบวก กับอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริง การอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง การลงทุนภาครัฐ และ การมีสินเชื่อ • แต่มีผลเป็นลบ กับ ต้นทุนที่แท้จริง และ ศักยภาพส่วนเกิน
การพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชนการพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชน • ศักยภาพส่วนเกินหมดไป • มีมุมมองทางบวกกับทิศทางของนโยบายที่จะสนับสนุนการลงทุนที่กำลังจะออกมา • นโยบาย --จะเดินหน้าเรื่องการเปิดประเทศต่อไป --จะลดต้นทุนภายในประเทศ - การลงทุนโดยตรงจากบริษัทต่างชาติ --สามารถปรับปรุงให้เกิดการผสมผสานการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศกับระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ --สนับสนุนนวัตกรรม และความรู้ – การกระจาย
การขยายตัวของภาคการส่งออกอย่างเข้มแข็งในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวการขยายตัวของภาคการส่งออกอย่างเข้มแข็งในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว จะเป็นไปอย่างต่อเนื่องหรือไม่?
การส่งออกในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวการส่งออกในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว • สัดส่วนมูลค่าส่งออกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 47 ปี 2538 เป็น ร้อยละ 65 ปี 2548 • การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ของการส่งออก โดยการขยายตัวของการส่งออกไปเอเชียตะวันออก เร็วกว่าการส่งออกไปประเทศส่วนอื่นๆในโลก • การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของสินค้าส่งออก โดยการไต่ขึ้นไปสู่ห่วงโซ่สินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น และสินค้าที่มีเทคโนโลยีสูงขึ้น • รถยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกน์และชิ้นส่วน มีสัดส่วนในยอดการส่งออกรวมเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 32 เป็นร้อยละ 43 • รถยนต์ เป็นการผลิตในประเทศไทยทั้งหมด ยกเว้นการออกแบบ • ภาคการผลิตอื่น – มีการสร้างเครือข่ายเป็นกลุ่มย่อยๆในระดับภูมิภาค
ภาคการส่งออกเป็นส่วนที่เข้มแข็งที่สุดภาคการส่งออกเป็นส่วนที่เข้มแข็งที่สุด
การปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออก การปฎิรูปการลงทุนภาคเอกชน • การแก้ไขกฎหมายการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวยินยอมให้ต่างชาติถือสิทธิความเป็นเจ้าของได้สูงถึงร้อยละ 49 (พ.ศ.2542) • ยกเลิกข้อกำหนดเกี่ยวกับการบังคับใช้วัตถุดิบภายในประเทศสำหรับการผลิตรถยนต์ และสินค้าเกษตรหลายรายการ (พ.ศ. 2543) • การยกเลิกข้อบังคับเกี่ยวกับการส่งออกสำหรับบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนผ่าน BOI (พ.ศ. 2543) • การจัดตั้งเขตปลอดภาษีอากรสำหรับนักลงทุน (พ.ศ.2545)
การปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฎิรูปนโยบายด้านกำแพงภาษีศุลกากรการปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฎิรูปนโยบายด้านกำแพงภาษีศุลกากร • จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อปรับโครงสร้างภาษีศุลกากร (พ.ศ. 2541) • ลดภาษีนำเข้าบนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบเหลือร้อยละ 3 ลดภาษีนำเข้าวัตถุดิบ เหลือร้อยละ 5 และลดภาษีพันธ์ปลาและหอยเหลือร้อยละ 0(สิงหาคม 2542) • ดำเนินการลดภาษีนำเข้าภายใต้กรอบ AFTA – อัตราภาษีนำเข้าโดยเฉลี่ยภายใต้กรอบ AFTA ลดลงจากร้อยละ 7.3% (2543), ..% (2545) & …% (2548) • ลดขั้นภาษีนำเข้าเหลือ 3 ขั้นระหว่างปี 2544-2548 โดยลดภาษีนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรมโดยเฉลี่ยจากร้อยละ 20 เหลือร้อยละ 10 • ลดภาษีนำเข้าสินค้าเกษตร
การปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฏิรูปเพื่อเพิ่มความสะดวกต่อพิธีการศุลกากรและการค้าการปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฏิรูปเพื่อเพิ่มความสะดวกต่อพิธีการศุลกากรและการค้า • ลดขั้นตอนในการผ่านพิธีการศุลกากร และเริ่มใช้การส่งเอกสารแบบด่วน (express document handling) (พ.ศ.2542) • นำระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ของ UN มาใช้เพื่อเพิ่มการจัดส่งของแบบอัตโนมัติ (พ.ศ. 2542) • นำระบบ WTO Valuation มาใช้ โดยเป็นระบบการใช้เลขรหัส 6 หลัก (6-digit HS system) และแก้ไขกฎข้อบังคับเกี่ยวกับการอุทธรณ์ให้ง่ายขึ้น (พ.ศ. 2543) • จัดทำรายชื่อผู้ประกอบการที่ดีถือบัตรทองซึ่งให้สิทธิยกเว้นการตรวจสอบ • กลุ่มผู้ประกอบการที่ได้รับสิทธิพิเศษส่งเสริมการลงทุน (BOI) และการขยายขอบเขตการยกเว้นภาษีนำเข้า • ให้ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กยื่นใบผ่านพิธีการศุลกากรผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ท
การปฏิรูปทำให้ประเทศไทยเปิดประเทศมากขึ้นการปฏิรูปทำให้ประเทศไทยเปิดประเทศมากขึ้น
ปัจจัยภายนอกที่สนับสนุนการฟื้นตัวของการส่งออกปัจจัยภายนอกที่สนับสนุนการฟื้นตัวของการส่งออก • ผลผลิตโลกโดยรวม --การค้าขยายตัวสูงภายหลังปี พ.ศ.2542 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงน้อยกว่าในทศวรรษที่ 1980 และ ทศวรรษที่ 1990 ราคาสินค้าบริโภคเป็นปัจจัยสนับสนุน • ความร่วมมือระหว่างภูมิภาค(การลงทุน และการค้า) ผลักดันการส่งออกโดยผ่านเครือข่ายเป็นกลุ่มย่อยๆในระดับภูมิภาค สู่ต้นทุนที่ต่ำ • คู่แข่งส่งออกซึ่งเป็นประเทศที่มีรายได้ต่ำ จากสินค้าที่ต้องใช้แรงงานมากไปสู่การผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ทักษะเพิ่มมากขึ้น (จีน เวียดนาม อินเดีย) • วิกฤตน้ำมันเป็นภาระหนักต่อบริษัทในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547
ประเทศในเอเชียตะวันออกมีสัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกด้วยกันสูง --สนับสนุนความร่วมมือภายในภูมิภาค
ความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเป็นตัวผลักดันที่สำคัญของภาคการส่งออกของประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเป็นตัวผลักดันที่สำคัญของภาคการส่งออกของประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออก Percentage point change in extra-regional and intra-regional market shares between 1994-96 average and 2002-04 average
ความร่วมมือระหว่างภูมิภาค – การแบ่งภาคการผลิตเป็นส่วนย่อยเพื่อลดต้นทุน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสายการผลิตและมีผลกระทบต่อประโยชน์ที่ แต่ละประเทศจะได้รับ
บริษัทข้ามชาติเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะตั้งฐานการผลิตที่ใด้บ้างในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในโลก ประเทศไทย หรือประเทศอื่นในโลกจะได้รับประโยชน์ ขึ้นอยู่กับ ต้นทุนโดยเปรียบเทียบ และการผสมผสานกับเศรษฐกิจภายในประเทศ
ความสามารถในการแข่งขันสำหรับประเทศไทย – ประเทศจีนมีการปรับปรุงเทคโนโลยีอย่างมาก
การไต่ลำดับชั้นของประเทศไทย ยังไม่มากนัก Source: MOC
อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรอื่น – จำกัดการเพิ่มมูลค่าภายในประเทศ • การจำแนกการผลิตไปในหลายๆประเทศ • การแข่งขัน – ประเทศที่มีรายได้ต่ำ เช่น เวียดนาม และจีน - ประเทศที่มีรายได้สูง เช่น มาเลเซีย ยุโรป • การแข่งขันกับที่อื่น – เวียดนาม และจีน • การปรับปรุงความสะดวกรวดเร็วในการทำการค้าจะช่วยลดต้นทุน • ความไม่แน่นอนของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ – ประเทศไทยจำเป็นที่ต้องมีการผลิต และนวัตกรรมเพื่อช่วยให้เกิดการผสมผสานกับภายในประเทศ • ขยายการริเริ่มนวัตกรรมของรัฐโดยเฉพาะด้านอิเล็กทรอนิกส์ • การพัฒนาทักษะแรงงานที่เข้มแข็งจะเป็นกุญแจสำคัญที่นำไปสู่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการสร้างนวัตกรรม
การเพิ่มมูลค่าสูงที่สุดในรถยนต์ และชิ้นส่วน • ตลาดที่ใหญ่ที่สุดใน ASEAN รวมรถปิคอัพ 1 ตัน • บริษัทญี่ปุ่นแสวงหาประโยชน์จาการย้ายฐานการผลิต นโยบายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า • ไม่มีการใช้นโยบายรถประจำประเทศ (national car policy) ทำให้มีพื้นที่สำหรับการแข่งขัน • การลดภาษีนำเข้า – แสวงหาการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น • ลดข้อจำกัดเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของของคนต่างด้าว โดยยอมให้ผู้ผลิตรถยนต์ในขั้นแรก (first-tier auto-parts-supplier)การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า พิธิการศุลกากรเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสายหรือเครือข่ายการผลิต
การส่งออกรถยนต์และชิ้นส่วนการส่งออกรถยนต์และชิ้นส่วน
การผลิตทั้งหมดทำภายในประเทศไทย ยกเว้นการออกแบบ
ประเทศจะรักษาการส่งออกที่เข้มแข็งให้ต่อเนื่องไปได้หรือไม่ ได้ถ้า…. ต้นทุนเคลื่อนย้ายฐานการผลิตตกลงที่นี่ • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และ การมีบรรยากาศการลงทุนที่ดีขึ้น • ทำให้มีการแข่งขันมากขึ้นในภาคบริการ การผสมผสานการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ผ่านการเพิ่มมูลค่า: • การเพิ่มทักษะแรงงานของไทยให้สูงกว่าระดับเงินเดือน • รัฐบาลไทยสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม และความรู้ • มีภาคการเงินที่สมดุลเพื่อสนับสนุนนวัตกรรม
มองไปข้างหน้า การปฏิรูปนโยบาย
ประสบการณ์การฟื้นตัวที่ผ่านมาหมายความว่าอย่างไร?ประสบการณ์การฟื้นตัวที่ผ่านมาหมายความว่าอย่างไร? • การขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำลง จากร้อยละ 6 ต่อปี ในช่วง 2545-2547 เหลือร้อยละ 4.5% ในปี พ.ศ. 2548-2550 • การแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทำได้ยากขึ้น เมื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำลง • ข้อจำกัดในการขยายการบริโภคภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญในขับเคลื่อนผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ • การรวมตัวกันของประเทศในเอเชียตะวันออกช่วยผลักดันการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการส่งออก บรรยากาศการลงทุนได้รับการปรับปรุง และมีมูลค่าเพิ่มขึ้น • การแข่งขันจากประเทศที่มีรายได้ต่ำ และประเทศที่มีรายได้ปานกลางจะทำให้ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันรุนแรงขึ้นหากปราศจากการปรับปรุงทักษะแรงงาน • ความอ่อนไหว ต่อ ความต้องการจากภายนอก การตัดสินใจเคลื่อนย้ายฐานการผลิตทำให้มีการเปลี่ยนงานและก่อให้เกิดปัญหาสังคม
การปฏิรูปนโยบาย เพื่อเปลี่ยนการฟื้นตัวที่เข้มแข็งไปสู่การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและมีคุณภาพ • การชี้แนวนโยบายที่รวดเร็วเพื่อสนับสนุนสิ่งที่กล่าวมาข้างต้น • ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาข้อจำกัดของบรรยากาศการลงทุน • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และเพิ่มการแข่งขัน • การลดต้นทุนของการบริการที่ไม่สามารถแลกเปลี่ยนได้ • การปกป้องแรงงาน และช่วยให้แรงงานสามารถโยกย้ายงานได้อย่างสะดวก • การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน และการบริหารจัดการทรัพยากร