200 likes | 368 Views
ชุมชน มีความสามารถ ในการ กำหนดแผนพัฒนาสุขภาวะด้านเด็กและเยาวชน และดำเนินการผ่านรูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว โดยการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเอง ภายใต้ฐานข้อมูลแนวคิดเชิงบวก (ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย). การแก้ปัญหาเด็กและเยาวชน.
E N D
ชุมชนมีความสามารถในการชุมชนมีความสามารถในการ กำหนดแผนพัฒนาสุขภาวะด้านเด็กและเยาวชน และดำเนินการผ่านรูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว โดยการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเอง ภายใต้ฐานข้อมูลแนวคิดเชิงบวก (ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย)
การแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชน ระหว่าง ปัจจัยเสี่ยง และ ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย
มองต่างมุม 1. วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความเสี่ยงและเป็นปัญหา 2.ให้ความสำคัญกับพฤติกรรมเสี่ยงมากกว่า 3.เมื่อเกิดผลจากพฤติกรรมเสี่ยงจึงค่อยวางแผนการ : วัวหายแล้วล้อมคอก 4.ขาดการจัดการกับปัญหา 1.วัยรุ่นเป็นวัยที่มีพลังความคิดสร้างสรรค์และมีศักยภาพมาก 2.ให้ความสำคัญกับการมีกิจกรรมร่วมมากกว่า 3.สร้างการส่งเสริมคุณภาพไว้เป็นเกราะป้องกันจากภาวะเสี่ยง 4.การมีส่วนร่วมกิจกรรมต่อชุมชนที่ชัดเจน • มองคุณค่าเป็นที่ตั้ง • มองปัญหาเป็นที่ตั้ง
จุดเปลี่ยน • ปรับทัศนคติเป็นเชิงบวก • ค้นหาปัจจัยสร้างที่อ่อนแอ (เหตุแห่งปัญหา) เป็นรูปธรรม • ฟังเสียงสะท้อนจากเด็กและเยาวชน 360 องศา ทั้งตัวเองและทุนทางสังคมที่เกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดที่สุด • ใช้ฐานข้อมูล สู่การขับเคลื่อน อย่างเป็นระบบ • ความรู้สึกเป็นเจ้าของ และความยั่งยืน พํฒนากรอบแนวคิด วิเคราะห์ วางแผน ให้กับฐานชุมชน มากกว่าการกำกับ
จุดเปลี่ยน • แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนท้องถิ่น สู่ สมัชชา และแผนประเทศ ด้วยการจัดการของชุมชน และภูมิปัญญาของชุมชน • ทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็ก • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สู่เด็กและเยาวชน
ต้นทุนชีวิตเด็ก....แนวคิดเชิงบวกต้นทุนชีวิตเด็ก....แนวคิดเชิงบวก
พลังต้นทุนชีวิต = พลังสร้างภูมิคุ้มกัน พลังเพื่อนและกิจกรรม พลังสร้างปัญญา ความคาดหวัง (ด้วยการเป็นผู้ฟังที่ดี) สัมพันธภาพ (ด้วยความรัก) พลังในตัวตนของ เด็กและเยาวชน พลังชุมชน การมีส่วนร่วม (ด้วยคุณค่า) พลังครอบครัว
ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยสร้าง(RISK-PROTECTION MODEL) แบบสำรวจต้นทุนชีวิตในเด็กและเยาวชน Developmental assets survey จุดเปลี่ยนของเด็กและเยาวชน แรกเกิด -< 6 ปี 6 ปี -< 12 ปี 12 ปี -<18 ปี เด็กและเยาวชน สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา กลุ่มเพื่อนและชุมชน
ยุทธศาสตร์การจัดการงานด้านเด็กและเยาวชนของชุมชน(Community strategies) DA เยาวชน DA ปฐมวัย DA วัยเรียน อายุ 0 6 12 18 ปี 25 ปี สำรวจรอยต่อที่1 สำรวจรอยต่อที่2 สำรวจรอยต่อที่3 กำหนดยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ร่วมกับกลไกการขับเคลื่อน กำหนดยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ร่วมกับกลไกการขับเคลื่อน กำหนดยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ร่วมกับกลไกการขับเคลื่อน ครอบครัว, ศูนย์เด็กปฐมวัย สถาบันการศึกษา ครอบครัวและชุมชน กลุ่มเยาวชนและชุมชน
5 พลังต้นทุนชีวิต 48 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย 1.พลังตัวตน (คุณค่า ภาพลักษณ์ ทักษะสังคม) 2. พลังครอบครัว ( ความรัก อบอุ่น ปิยวาจา วินัย สนับสนุน) 3.พลังสร้างปัญญา (ในและนอกหลักสูตร) 4. พลังเพื่อนและกิจกรรม( กิจกรรมต่างๆ ศาสนา กีฬา ดนตรี) 5.พลังชุมชน ( เฝ้าระวัง กิจกรรมชุมชน จิตอาสา แบบอย่าง ความปลอดภัย )
จุดเด่นของเครื่องมือ 1.ฟังเสียงเด็กและเยาวชนจริงๆจากพื้นที่โดยตรง 2.ข้อคำถามเชิงบวกที่แปลงนามธรรมให้เป็นรูปธรรมจับต้องได้ เต็มใจตอบ 3. สำรวจครอบคลุมทั้งทุนชีวิตในตัวเด็กเอง และทุนชีวิตจากสิ่งแวดล้อมในคราวเดียวกัน 4.แปลงเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้วยทรัพยากรของชุมชนโดยชุมชนได้ทันที 5.เปลี่ยน “ฉัน” ให้เป็น “เขา” ทบทวนตัวพ่อแม่และผู้ใหญ่ได้ด้วย
ตัวชี้วัด ต้นทุนชีวิตเด็ก พลังตัวตน สำคัญที่สุด • จุดยืนหรือค่านิยมต่อความดี ข้อที่ 1, 4, 6, 8 • วิถีประชาธิปไตย ข้อที่ 2, 3, 9 • ทักษะชีวิตหรือทักษะการอยู่ร่วมสังคม ข้อที่ 5, 7, 10 • ทักษะอารมณ์ ข้อที่ 8, 11, 12 • คุณค่าในตนเอง ข้อที่ 13, 14
ตัวอย่าง ตัวชี้วัด ต้นทุนชีวิตเด็ก • การได้รับการสนับสนุนจากผู้ใหญ่ ข้อที่ 16,18, 22, 24, 27, 41 • การกำหนดวินัย ข้อที่ 20, 26, 47 • การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้ใหญ่ ข้อที่ 21, 35, 48 • ชุมชนน่าอยู่สำหรับเด็กข้อที่ 42, 43, 44, 45
ตัวอย่าง ตัวชี้วัด ต้นทุนชีวิตเด็ก • สื่อ ข้อที่ 10, 23, 34, 40 • วัฒนธรรม วิถีพอเพียง ข้อที่ 15, 33, 46 • การสร้างปัญญา ข้อที่ 28,29,30,31,32 • ความปลอดภัย ข้อที่ 19, 25, 47 • ปิยะวาจา ข้อที่ 17 • กิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กข้อที่ 36, 37, 39
พันธกิจ DA ยุทธศาสตร์องค์ความรู้ วิสัยทัศน์ ชุมชนมีศักยภาพ(ฐานชุมชน)ในการกำหนดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนของชุมชนด้วยชุมชนเองอย่างเป็นระบบและมีทิศทาง ฐานชุมชน ระบบพี่เลี้ยง ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม คณะทำงานและกลไก ยุทธศาสตร์ผลักดันนโยบายและเผยแพร่ DA (ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย)=DA
ฐานชุมชนเพื่อแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนสู่ชุมชนเข้มแข็งฐานชุมชนเพื่อแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนสู่ชุมชนเข้มแข็ง
ระบบพี่เลี้ยง/ที่ปรึกษาในฐานชุมชนระบบพี่เลี้ยง/ที่ปรึกษาในฐานชุมชน
บันได 3ขั้นสู่การพัฒนาฐานชุมชน เพื่องานด้านเด็กและเยาวชนอย่างมีทิศทาง(DA) ระบบพี่เลี้ยง พัฒนาทักษะต้นทุนชีวิตแนวคิดเชิงบวก วิทยากรกระบวนการ ด้วยผลวิเคราะห์ DA การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม เด็ก เยาวชน ครอบครัว ในชุมชน พัฒนาคณะทำงานด้านเด็กและเยาวชน คณะทำงานสำรวจ/คิดวิเคราะห์ DAประจำชุมชน
พัฒนาโครงการ ชุมชนขั้นพื้นฐาน Expect to see คณะทำงาน กิจกรรมสร้างสรรค์ กระบวนการแลกเปลี่ยน หลักสูตร หลักสูตร พัฒนาวิทยากร กระบวนการ .....พท. Expect to see พัฒนา/เลือกPL 20 พท. Like to see 10 พท. Love to see (เติม competency เพิ่มเรื่อง วิทยากรกระบวนการ,การเชื่อมโยง) • พัฒนาคณะทำงาน • การบริหารโครงการ • พี่เลี้ยง/ที่ปรึกษา • ต้นทุนชีวิตแนวคิดเชิงบวกเป็นเครื่องมือกำหนดทิศทางอย่างมีแบบแผน • เฝ้าระวัง และส่งต่อ • ชุมชนขั้นต้นแบบLove to see หลักสูตร ระบบพี่เลี้ยงใน ฐานชุมชน สร้างระบบการติดตามประเมินผล • การเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายภาครัฐ(อบต. / สภาเด็กและเยาวชน) ชุมชนขั้นพัฒนา Like to see
ภูมิใจกับ โครงการสร้างชาติ ด้วยแนวคิดเชิงบวก