220 likes | 449 Views
โรงพยาบาล เบอร์ 5. คณะกรรมการโรงพยาบาล “เบอร์ 5”. ที่ปรึกษา : อาจารย์ทิชาพันธ์ ไกรเกตุ. 1. 2. นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.เบอร์ 5. ลดการใช้พลังงานทุกประเภท และใช้อย่างเหมาะสม โดยมีเป้าหมายในปี 2555 ลดลง 10% จากปีที่ผ่านมา. 1.
E N D
โรงพยาบาล เบอร์ 5
คณะกรรมการโรงพยาบาล “เบอร์ 5” ที่ปรึกษา : อาจารย์ทิชาพันธ์ ไกรเกตุ 1
นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.เบอร์ 5 ลดการใช้พลังงานทุกประเภท และใช้อย่างเหมาะสม โดยมีเป้าหมายในปี 2555 ลดลง 10% จากปีที่ผ่านมา 1. เป็นโรงพยาบาลที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์พลังงาน (TEA) ภายใน 3 ปี และเป็นที่ศึกษาดูงาน 2. ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 3. กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง โดยไม่กระทบต่องานบริการ 4. โรงพยาบาลมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานและปฏิบัติตามนโยบายอนุรักษ์พลังงาน 5. 3
ผังพื้นที่รับผิดชอบแผนก WELLNESS. 4
ผังพื้นที่รับผิดชอบแผนกซักรีดผังพื้นที่รับผิดชอบแผนกซักรีด 5
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 7
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง นโยบายการจัดการพลังงาน มีนโยบายการจัดการพลังงานลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง มีการสื่อสารติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ในแผนก เหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 1. การจัดการองค์กร มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานด้านอนุรักษ์พลังงาน ลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง มีการดำเนินงานมีตรวจสอบและวัดผลมีมาตรการที่ชัดเจน 2. การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ ผู้บริหารมีการกระตุ้น ให้พนักงานทุกระดับมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ พลังงาน 3. ระบบข้อมูลและข่าวสาร มีการจัดทำระบบการจัดเก็บเอกสารข้อมูลที่ชัดเจน มีการติดตามประเมินผลการสื่อสาร หาข้อบกพร่องและแก้ไข 4. การประชาสัมพันธ์ มีการกำหนดให้มีการเผยแพร่โครงการอนุรักษ์พลังงาน เป็นส่วนหนึ่งของแผนการ ประชาสัมพันธ์องค์กร เพื่อให้พนักงานทุกระดับรู้คุณค่าของพลังงาน 5. 8
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง ด้านการลงทุน มีการจัดสรรงบประมาณสำหรับการลงทุนและอนุรักษ์พลังงาน 6. 9
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หลอดไฟ ขนาด 14 watt จำนวน 20 หลอด พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 280 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 817.6 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. แก้ไขวงจรใหม่ โดยให้หลอดติดสลับหลอดเว้นหลอด ทำให้ลดปริมาณการใช้พลังงานลง 50 % ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 140 x 8 x 365 ) / 1000 = 408.8 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.45 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 817.6 – 408.8 = 408.8 x 3.45 = 1,410.36 บาท/ปี 10
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : เครื่องตรวจมวลกระดูก ขนาด 1,500 watt จำนวน 1 เครื่อง พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 1,500 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 12 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 6,570 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า 3.45 บาท/หน่วย คิดเป็นจำนวนเงิน = 22,666.50 บาท/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1.ลดระยะเวลาการเปิดเครื่องโดยเปลี่ยนจากการเปิด12 ชม. เป็นเปิดก่อนใช้งาน 15 นาที(เฉพาะที่มีการใช้งานเท่านั้น) โดยเฉลี่ยวันละ 5 ครั้ง ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1,500 x 2.5 x 365 ) / 1000 = 1,368.75 หน่วย/ปี = 4,722.18 บาท/ปี ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 22,66.50 – 4,722.18 = 17,944.32 บาท/ปี 11
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ตู้เย็นแช่น้ำมากเกินความจำเป็น 1 ตู้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 30 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 75 % หรือ 22.5 วัตต์ เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 197.1 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. กำหนดรายการและชนิดสิ่งของที่ใช้แช่สูงสุดไว้ 2. ตั้งค่าความเย็นที่เหมาะสมกับสิ่งของที่แช่ในตู้เย็น (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 15 %) 3. เผยแพร่ผลเสีย(อย่างสร้างสรรค์)ที่เกิดขึ้นผ่านสื่อต่างๆใน รพ. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 4.5 วัตต์ ที่ 15% =39.42 หน่วย/ปีหรือ 136 บาท/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.45 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 680 - 136 = 544 บาท/ปี 12
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : แผนกซักรีด มีความร้อนจากกระบวนการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่เหมาะสม มาตรการด้านเทคนิค พิจารณาเรื่องการลดอุณหภูมิในห้อง ให้อยู่ประมาณ 30 c โดย 1. ติดแอร์ ขนาด 2 ตัน 2. ติดพัดลมไอน้ำ 1. แอร์ ขนาด 2 ตัน ประมาณ 2,000 วัตต์ (2,000 x 14 x 365) /1,000 = 10,220 Kwh/ปี คิดเป็นจำนวนเงิน = 35,259 บาท/ปี เงินลงทุน ประมาณ 30,000 บาท 2. พัดลมไอน้ำ ใช้พลังงานประมาณ 55 วัตต์ (55 x 14 x 365) /1,000 = 281 Kwh/ปี คิดเป็นจำนวนเงิน =969.45 บาท/ปี เงินลงทุน ประมาณ 30,000 บาท ผลประหยัด 35,259 – 969.45 = 34,289.55 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 0.87 ปี 13
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าขนาด 600 วัตต์ พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 600 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 12 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 2,628 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับเวลาการต้มน้ำใหม่ โดยใช้ช่วงเช้า ประมาณ 30 นาที ช่วงบ่าย ประมาณ 30 นาที รวมเหลือใช้งานจริง 1 ชม./วัน ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 600 x 1 x 365 ) / 1000 = 219 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.45 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 2,628 – 219 = 2,409 x 3.45 = 8,311 บาท/ปี 14
มาตรการอื่นๆ ผลสำรวจ : แอร์ห้อง MDB เปิดใช้งาน 24 ชม. ของเดิม ไม่ได้ติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมิ ทำให้ทำงานตลอดเวลา พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 0.75 Kwatt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 26,280 หน่วย/ปี เป็นจำนวนเงิน = 90,666 บาท/ปี มาตรการด้านเทคนิค 1. ติดตั้ง Timer ให้ทำงาน 30 นาที หยุด 30 นาที ทำให้ลดปริมาณการใช้พลังงานลง 50 % ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 0.75 x 12 ) x 365 = 13,140 หน่วย/ปีหรือ 45,333 บาท/ปี ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 90,666 – 45,333 = 45,333 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 0.02 ปี หรือ 8 วัน 15
มาตรการอื่นๆ 16
มาตรการอื่นๆ 17
สิ่งที่ได้รับจากการอบรมสิ่งที่ได้รับจากการอบรม ทราบแนวทางการบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1. สามารถจัดการทรัพยากร ในโรงพยาบาลได้อย่างเหมาะสมทั้ง 3ด้าน People,Process ,Place 2. เรียนรู้กลยุทธการจัดการระบบวิศวกรรม เพื่อการอนุรักษ์พลังงานในโรงพยาบาล 3. ได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยตรง ทำให้เกิดความเข้าใจและเกิดแรงบันดาลใจ ในการนำไปพัฒนาต่อที่โรงพยาบาล 4. เกิดเครือข่ายในทีมอนุรักษ์พลังงาน 5. 19
ข้อเสนอแนะ ในการหารอยรั่วการใช้พลังงาน ควรจะเปิดให้บุคคลภายนอกหน่วยงานเข้ามาช่วยในการตามรอย 1. อยากให้ทุกส่วนงาน(รัฐ,เอกชน)นำการอนุรักษ์พลังงานมาใช้ให้เกิดเป็นรูปธรรม 2. ขอ เราควรนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาหน่วยงานของเราและอธิบายให้รู้ถึงการอนุรักษ์พลังงานถึงการประหยัด 3. ควรมีการตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้หาข้อแก้ไขให้เกิดผลลัพธ์สูงสุด 4. ประหยัดพลังงานวันนี้ เพื่อไม่ต้องพึงพม่าในวันต่อไป 5. 20
โรงพยาบาลเบอร์ 5 ขอบคุณ 21