1 / 61

เสวนา เรื่อง “การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล”

โครงการสัมมนาเสริมสร้างศักยภาพ เศรษฐกิจเมืองชายแดนภาคใต้ ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสตูล วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรมสินเกียรติบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสตูล. เสวนา เรื่อง “การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล”. ปกรณ์ ปรีชาวุฒิเดช กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

keiji
Download Presentation

เสวนา เรื่อง “การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสัมมนาเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภาคใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสตูล วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรมสินเกียรติบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เสวนา เรื่อง“การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล” ปกรณ์ ปรีชาวุฒิเดช กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน e-mail: pakornfang@gmail.com

  2. ประเด็นภาคใต้ได้อะไร? ...จากการเชื่อมโยง ประเทศเพื่อนบ้าน 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  3. ASEAN 2015 ASEAN 2050 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  4. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  5. สถานภาพปัจจุบัน • แรงผลักของตลาด (market force) ที่เป็นผลจากระบบทุนนิยม โดยมีแรงสนับสนุนมาจากการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนของประเทศเพื่อนบ้านและในพื้นที่ที่เป็นภูมิภาคต่างๆ • การรวมกลุ่มหรือการบูรณาการทางเศรษฐกิจในภูมิภาค (regional economic integration) เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ที่เป็นส่วนภูมิภาคและประเทศต่างๆ ของโลก 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  6. แผนชาติของมาเลเซีย ฉบับที่ ๑ - ๘ (ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ – ๒๕๔๘ หรือ ค.ศ. 1966 – 2005) ส่งออกยาง-ดีบุก เป็นรายได้ 85% สหพันธ์รัฐมลายาได้รับเอกราชจากอังกฤษวันที่ 31สิงหาคม ค.ศ. 1957 4 ประเทศร่วมก่อตั้ง อาเซียน 8 สิงหาคม 1967 เหตุการณ์นองเลือด 13 พ.ค. ๒๕๑๒(Peristiwa 13 Mei 1969) การมุ่งแต่จะรักษาและเพิ่มพูนผลประโยชน์ทั้งหลายแก่ชาวมลายูเป็นการเฉพาะ การใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ ให้สิทธิพิเศษแก่ชาวมลายู (Bumiputra) ในการครอบครองที่ดิน/ทุนการศึกษา/การคัดเลือกเข้ารับราชการ/การให้ใบประกอบธุรกิจ แผนชาติฉบับที่ ๑ มุ่งเน้นการพัฒนาชนบท และนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มุ่งยกระดับฐานะความเป็นอยู่ให้กับชาวมลายู แผนชาติฉบับที่ ๑ – ๓ มีความก้าวหน้าเล็กน้อย(ค.ศ.1966 – 1980) ในแผนฉบับที่ ๒ เริ่มนโยบายเศรษฐกิจแบบใหม่ (NEP) ปี ค.ศ. 1970 ปี 1981 Dr Mahathir Bin Mohamadเป็นนายกรัฐมนตรี ปี 1990 สิ้นสูด NEP และรัฐบาลประกาศนโยบายการพัฒนา การก้าวเข้าสู่วิสัยทัศน์ ๒๕๖๓ (WAWASAN 2020) ความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจในช่วง ๑๕ ปีแรก(1991 - 2005) แนะนำให้ทำงานหนักและให้ GDP เพิ่มขึ้นสองเท่าของทุกๆ 10 ปี แผนชาติฉบับที่ ๔ เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมโยงพื้นที่เมืองกับชนบท (อุตฯ & เทคโนโลยี) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  7. Hishammuddin Hussein Datuk Seri PanglimaHishammuddin bin Tun Hussein(born 5 August 1961) Minister of Defence Minister of Transport (covering) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  8. KhairyJamaluddin Yang Berhormat Tuan Haji KhairyJamaluddin Abu Bakar(born 10 January 1976) Minister of Youth and Sports 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  9. แผนชาติของมาเลเซีย ฉบับที่ ๙ (ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๓) ในแผนฉบับนี้ได้ระบุถึงเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งวัดจาก GDP ในระหว่างปี 2006-2010 น่าจะอยู่ที่ 6% ซึ่งเติบโตกว่าภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ที่มีอัตราอยู่ที่ 4.5% 5 Trust Keys in 9MP 4 1 2 3 5 To improve the standard and sustainability of quality of life To strengthen the institutional and implementation capacity To move the economy up the value chain To raise the capacity for knowledge and innovation and nurture ‘first class mentality’ To address persistent socio-economic inequalities constructively and productively 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  10. แผนการพัฒนาของแต่ละรัฐภายใต้ 9MP Kedah  an integrated halal hub and permanent food production expansion of Kulim Hi-Tech Park will further stimulate industrial growth  one of the major development projects is the construction of the national food terminal in Ipoh Pulau Pinang construction of the Pulau Pinang Outer Ring Road design and construction of the second bridge as well as the establishment of new growth areas. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  11. แผนการพัฒนาของแต่ละรัฐภายใต้ 9MP (ต่อ) • Perak construction of the national food terminal in Ipoh • Perlis establishment of an integrated halal hub • Central region continues to require projects to meet its development needs; the construction of several federal roads, including the Banting-Taiping Coastal Highway 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  12. แผนการพัฒนาของแต่ละรัฐภายใต้ 9MP (ต่อ) • Negeri Sembilan focus will be the development of Bandar BaruNilai as a new biotechnology centreGemas and Jelai area as a beef valley. • Melaka upgrading of Melaka airport to handle narrow-bodied jets to boost tourism • Johor South Johor Economic Region (SJER)  Johor’s logistic hub: which include two international seaports and an international airport 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  13. แผนการพัฒนาของแต่ละรัฐภายใต้ 9MP (ต่อ) • Eastern region states SimpangPulai-GuaMusang-Kuala Terengganu Road providing the third trunk road link to the Eastern Corridor, and the East Coast Highway Phase 2 in Terengganu Kuala Terengganu airport will be upgraded to handle wide-bodied aircraft that will boost tourism and industrial developments develop in northern Terengganu as well as provide more educational opportunities, the main campus of a new university will be located in Besut In addition, a new university will be established in Kelantan during the Plan period 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  14. แผนการพัฒนาของแต่ละรัฐภายใต้ 9MP (ต่อ) • Pahang permanent food production parks, a palm oil industrial cluster and an integrated halal hub • Sarawak upgrading of Oya-Mukah-Balingan Road and the new Sibu-Bawang-Assan-Seredeng Road fortourism industry as well as the Integrated Deep Sea Fishing Complex in TanjungManis large-scale planting of oil palm and rubber will further enhance the agriculture sector • Sabah  completion of Sepulut-Kalabakan Road and Sipitang-Tenom Road will further improve linkages to the hinterland of Sabah and support agricultural development 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  15. แผนความร่วมมือบริเวณชายแดนไทยภายใต้ 9MP • During the Plan period, the implementation of projects identified in the Malaysia-Thailand JDS Action Plan will be accelerated. These include the opening of the CIQ complex at Durian Burong-Ban Prakob area and the completion of the bridge linking Bukit Bunga in Malaysia and Buketa in Thailand which will spur economic activities in these areas. • Other projects are the promotion of joint tour packages, the joint development of ornamental fish project in Padang Terap, Kedah and the skills training programmeidentified in the Action Plan to be provided by GiatMARACentresfor trainees from the southern provinces of Thailand. At the same time, three studies will be undertaken jointly, namely on the establishment of a special economic zone at Bukit KayuHitam-Sadao and feasibility studies on proposed bridge projects between PengkalanKubor-Tak Bai and between RantauPanjang-Sungai Golok. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  16. แผนภาพแสดงตำแหน่งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ๕ แห่ง ของประเทศมาเลเซีย 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  17. เขตเศรษฐกิจพิเศษ ๒ แห่ง ของประเทศมาเลเซียที่ติดชายแดนไทย โครงการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจภาคเหนือ Northern Corridor Economic Region www.ncer.com.my (NCER) อยู่ทางตอนเหนือของฝั่งมาเลเซียตะวันตก ตั้งขึ้นในปี ๒๕๕๐ เน้นการพัฒนาในภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  18. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  19. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  20. เขตเศรษฐกิจพิเศษ ๒ แห่ง ของประเทศมาเลเซียที่ติดชายแดนไทย โครงการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ ชายฝั่งตะวันออก East Coast Economic Region www.ecerdc.com (ECER) พัฒนาบริเวณชายฝั่งตะวันออกของมาเลเซียตะวันตก ตั้งขึ้นในปี ๒๕๕๑ เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม Oil & Gas ปิโตรเคมี การท่องเที่ยว การศึกษา และเกษตรกรรม 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  21. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  22. แผนชาติของมาเลเซีย ฉบับที่ ๑๐ (ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ความตั้งใจของรัฐบาลมาเลเซียที่ตองการใหการลงทุนจากตางประเทศและ ภาคเอกชนเปนตัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ถือเป็นโอกาสสําคัญสําหรับการสงออกและการลงทุนของไทยในมาเลเซีย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพและความสําเร็จของการดําเนินตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลมาเลเซียตามวิสัยทัศน์ 2020 ตอไปในอนาคต การขจัดจุดอ่อนทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้มีการกำหนด 2 เป้าหมายหลักคือ 1) ยกเลิกมาตรการให้เงินอุดหนุนสินค้าต่างๆโดยภาครัฐ ปีละ 22,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตั้งแต่น้ำมันเบนซินไปจนถึงน้ำตาลทราย 2) แก้ไขนโยบายให้สิทธิพิเศษแก่คนเชื้อสายมาเลย์ซึ่งเป็นคนกลุ่มใหญ่ของประเทศ ที่มุ่งช่วยให้คนมาเลย์มีโอกาสทางธุรกิจเท่าเทียมชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน แม้จะต้องพบกับแรงเสียดทานจากชาวมาเลย์ผู้สูญเสียประโยชน์ ซึ่งกุมอำนาจและมีอิทธิพลสูงในแง่การเมืองภายในประเทศ 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  23. JokowiBasuki 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  24. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 15 ปี (ค.ศ. 2011–2025) ของอินโดนีเซีย (MP3EI) ส่งสัญญาณอะไรบ้าง - แนวคิดหลัก “หลอมรวมความเป็นท้องถิ่น เชื่อมต่อโลก” (Locally Integrated, Globally Connected) - มุ่งเพิ่ม GDP จาก 7 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ที่มีรายได้ต่อหัว 3 พันเหรียญสหรัฐต่อปี (ค.ศ. 2010) ไปเป็น 5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ที่มีรายได้ต่อหัว 1.5 หมื่นเหรียญสหรัฐต่อปี (ค.ศ. 2025) - เน้นพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ 22 กลุ่ม (focus clusters) - แบ่งพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจเป็น 6 เขต (economic corridors) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  25. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  26. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  27. ความคืบหน้าในการพัฒนาด่านประกอบ (วันที่ ๒ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  28. ความคืบหน้าในการพัฒนาด่านประกอบ (วันที่ ๒ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  29. ความคืบหน้าในการพัฒนาด่านประกอบ (วันที่ ๒ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  30. ความคืบหน้าในการพัฒนาด่านประกอบ (วันที่ ๒ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  31. สภาพเส้นทางและเมือง Baling รัฐ Perak (วันที่ ๒ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  32. หารือกับภาคเอกชนและภาครัฐ รัฐ Perak (วันที่ ๓ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  33. หารือกับภาคเอกชนและภาครัฐ รัฐ Penang (วันที่ ๓ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  34. หารือกับภาคเอกชนและภาครัฐ รัฐ Perlis (วันที่ ๔ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  35. หารือกับภาคเอกชนและภาครัฐ รัฐ Kedah (วันที่ ๔ มิ.ย.๕๗) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  36. สภาพทั่วไปกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนสภาพทั่วไปกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน • พื้นที่ 20,809.7 ตร.กม. หรือประมาณ 13 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 29.12 ของภาคใต้ และร้อยละ 4.02 ของประเทศ • ประชากร 3.6 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 39.9 ของภาคใต้ (9.06 ล้านคน) และร้อยละ5.6 ของประเทศ (64 ล้านคน) • ลักษณะภูมิประเทศ มีเทือกเขานครศรีธรรมราชและเทือกเขาสันกาลาคีรีเป็นเส้นแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือที่ราบฝั่งทะเลอ่าวไทย (จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส) และที่ราบฝั่งทะเลอันดามัน (จังหวัดสตูล) และมีผืนป่าฮาลาบาลาซึ่งเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดของภาคใต้ • เขตชายแดนติดต่อกับประเทศมาเลเซียยาว 500 กม.โดยมีด่านเป็นจุดผ่านแดนถาวรรวม 9 ด่าน ประกอบด้วย สตูล (ตำมะลัง วังประจัน) สงขลา (ปาดังเบซาร์ สะเดา บ้านประกอบ) ยะลา (เบตง) นราธิวาส (บูเก๊ะตา สุไหงโก-ลก ตากใบ) • ด่านสะเดา เป็นด่านที่มีมูลค่าการค้าสูงที่สุดของประเทศ ปัจจุบันมีปัญหาความแออัด 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  37. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  38. การจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดน (Economic Cooperation Strategy) นิยามของ การพัฒนาเมืองชายแดนอยางมีประสิทธภาพตองดําเนินการแบบองครวม ระมัดระวัง และคํานึงถึงประเทศเพื่อนบานเปนสําคัญ โดยเฉพาะการรักษาผลประโยชนและการอยู่ดีกินดีของประชาชนรวมกัน ซึ่งในทางปฏับัติประเทศไทยสามารถพัฒนาในส่วนของไทยที่มีความพรอมกอน โดยนําปจจัย โอกาส และศักยภาพของประเทศเพื่อนบานรวมไวดวย แลวคอยขยายความรวมมือต่อไปยังพื้นที่ชายแดนและพื้นที่ตอนในของประเทศเพื่อนบ้าน (อ้างอิงจาก สำนักพัฒนาพื้นที่ (สพท.) สํานกงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ : กรกฎาคม 2546 ดูใน http://fad.moi.go.th/group3/images/data15.pdf ) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  39. 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  40. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองเศรษฐกิจชายแดน เพื่อเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน แนวคิดของ “เมืองชายแดนมีจุดที่ตั้งที่ได้เปรียบในการเชื่อมโยงกับภูมิภาค จึงควรส่งเสริมการพัฒนาในลักษณะ คลัสเตอร์เชื่อมโยงกับพื้นที่ตอนใน/จังหวัดอื่นๆ เพื่อสร้างกิจกรรมที่มีมูลค่าเพิ่ม และเพื่อให้พื้นที่สามารถสร้างประโยชน์จากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้ โดยไม่เป็นเพียงทางผ่าน รวมถึงกระจายประโยชน์ในการพัฒนา และเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่”(อ้างอิงจากนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการบรรยายในโครงการประชุมสัมมนาพัฒนาเมืองเศรษฐกิจชายแดนฯ วันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน 2557 ณ โรงแรมศรีลาดวน อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ ) 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  41. ลักษณะของปจจัยการผลิตในปัจจุบันลักษณะของปจจัยการผลิตในปัจจุบัน 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  42. อุปสรรคของการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนของภาคเอกชนอุปสรรคของการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนของภาคเอกชน • ความไมแนนอนของนโยบายรัฐบาล • นักลงทุนขาดความมั่นใจจาการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง • ความไมพรอมของโครงสรางพื้นฐาน • ความไมพรอมของธุรกรรมเงินตรา • ขาดความเข้าใจระบบการเมืองการปกครองและระเบียบกฎหมาย • ความมั่นคงตามแนวชายแดน • ขาดนโยบายการคุมครองการลงทุนจากตางประเทศอยางเปนระบบ • ขาดการปรับรูปแบบการค้าเดิมให้เข้ากับหลักสากล • ขาดทักษะภาษาและการเจรจาธุรกิจในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน • ขาดความเข้าใจในการใช้กลไกการเปิดเสรีตามข้อตกลง AEC 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  43. Scenarioโจทย์อนาคต...ของการแข่งขันด้านเศรษฐกิจชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านScenarioโจทย์อนาคต...ของการแข่งขันด้านเศรษฐกิจชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  44. การลงทุนและพัฒนา“เกาะลังกาวี”ให้เป็นDuty Free Zone Scenario I โดย Dr. M

  45. เทคนิคในการแข่งขันทางการค้าตาม “หลักสากล” (WTO)กับผู้ประกอบการM’sia & S’pore Scenario II

  46. ASEAN Economic Community Free flow of Goods Free flow of Services Free flow of Investment Free flow of Skilled Labor Freer flow of Capital 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  47. Freeflow of Goods สินค้า ดูตามพิกัดศุลกากร (Harmonized Code) FTA CEPT Form D  ATICA Form D Self Certification HS Code e-Customs IAS / IFRS INCOTERMs UCP600 Importer Distributor Trading Firm Forwarding Agent Freight Forwarder RVC 40% National Single Window JPJSPAD Shipping Mark CRO 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

  48. การแยกประเภทของภาคการค้าการแยกประเภทของภาคการค้า • Harmonized System (HS) • Customs tariffs • Collection of international trade statistics • Rules of origin • Collection of internal taxes • Trade negotiations (e.g., the World Trade Organization schedules of tariff concessions) • Transport tariffs and statistics • Monitoring of controlled goods (e.g., wastes, narcotics, chemical weapons, ozone layer depleting substances, endangered species) • Areas of Customs controls and procedures, including risk assessment, information technology and compliance.

  49. การได้สิทธิลดภาษี ตาม AECโดยกฎแหล่งกำเนิดสินค้า (C/O)โรงงาน + ตัวแทนขายตามแนวชายแดน Scenario III

  50. สินค้าอาเซียนคือ ? RVC 40% ผู้ผลิต ผู้บริโภค ตัวแทนขาย ผู้ซื้อ Back-to-Back C/O 13 มิถุนายน 2557 - การเสริมศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่สตูล

More Related