940 likes | 1.04k Views
แนวทางการดูแลรักษาทารก ที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี. รศ.พญ.กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ. วัตถุประสงค์. เพื่อทบทวนระบาดวิทยาของการติดเชื้อในเด็กโดยย่อ เพื่อให้ทราบหลักการดูแลทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ เพื่อให้เข้าใจหลักการวินิจฉัยการติดเชื้อในเด็ก เพื่อย้ำจุดที่มักผิดพลาด.
E N D
แนวทางการดูแลรักษาทารกที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลรักษาทารกที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี รศ.พญ.กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ
วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนระบาดวิทยาของการติดเชื้อในเด็กโดยย่อ • เพื่อให้ทราบหลักการดูแลทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ • เพื่อให้เข้าใจหลักการวินิจฉัยการติดเชื้อในเด็ก • เพื่อย้ำจุดที่มักผิดพลาด
Perinatal HIV Infection • > 90 % ของการติดเชื้อ HIV ในเด็ก เกิดจากการ • แพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก • 2/3 ติดเชื้อในระหว่างการคลอด • 1/3 ติดเชื้อขณะอยู่ในครรภ์ • ( จากผล +ve PCR/Culture เมื่ออายุ < 2 วัน หรือหลัง 1 สัปดาห์ ) 12% 65% 23% Antenanal Intrapartum Postnatal
Global summary of the HIV/AIDS epidemic, December 2003 Number of people living with HIV/AIDS Total 40 million (34 – 46 million) Children under 15 years 2.5 million (2.1 – 2.9 million) People newly infected with HIV in 2003 Total 5 million (4.2 – 5.8 million) Children under 15 years 700 000 (590 000 – 810 000) AIDS deaths in 2003 Total 3 million (2.5 – 3.5 million) Children under 15 years 500 000 (420 000 – 580 000) 10% 14% 17%
Number AIDS Cases Reported From 1984 to March 2002 30 % 25 Age 20 15 10 5 0 0-4 5-9 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-44 45-49 50-54 55-59 >60 Unknow Age (years) แหล่งข้อมูล: กลุ่มงานระบาดวิทยาโรคเอดส์ กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
จำนวนผู้ป่วยเอดส์ในประเทศไทย 2527-2546 ทั้งหมด เด็ก • ติดเชื้อทั้งหมด 1 ล้าน 3 หมื่น • เสียชีวิตแล้ว 4 แสน 1 หมื่น • ติดเชื้อใหม่ต่อปี 2 หมื่น 1. 5 พัน • เสียชีวิตแต่ละปี 5 หมื่น 2 พัน • เด็กกำพร้าจากเอดส์ 1. 2-1. 5 แสน
Perinatal HIV Infection • อัตราการติดเชื้อของทั่วโลกแตกต่างกัน >> 14-40% ถ้าไม่ได้ป้องกันด้วยยาต้านไวรัส >> 2-10% ถ้าได้ยาต้านไวรัส >> การให้นมแม่--> เพิ่ม การติดเชื้อ 3-14 % • ทั่วโลกมีทารกติดเชื้อ~1,600 ราย/วัน~600,000 ราย/ปี
3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 อัตรา HIV Seroprevalence ในหญิงตั้งครรภ์ (จาก การเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIV เฉพาะพื้นที่, สธ.) ปี พ.ศ. 2546 อัตราเกิด= 0.9 ล้าน/ปี --> ทารกคลอดจากมารดาติดเชื้อ = 15,000 ราย/ปี --> ทารกติดเชื้อ = 1,500 ราย/ปี ( อัตราการติดเชื้อ 10% )
Common Pitfallระบาดวิทยาของการติดเชื้อเอดส์ในเด็ก • วิธีควบคุมและป้องกันโรคเอดส์ในเด็กที่ได้ผลคือการตรวจเลือดในหญิงตั้งครรภ์ และให้การดูแลที่เหมาะสม • การตั้งรับ เมื่อหญิงมาฝากครรภ์ เป็นสิ่งที่ช้าไป • สิ่งที่ต้องทำเพื่อลดปัญหาโรคเอดส์ในเด็กคือ ต้องลดการติดเชื้อในหญิงวัยเจริญพันธุ์ • ต้องป้องกันการติดเชื้อใหม่ในหญิงและชายวัยเจริญพันธุ์ • ต้องป้องกันและแก้ไขปัญหาวัยรุ่น • ต้องทำให้การตรวจการติดเชื้อเกิดขึ้นก่อนการตั้งครรภ์ • ต้องให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและโรคเอดส์แก่เยาวชน ก่อนจะมีเพศสัมพันธ์
เป้าหมายของการดูแลทารก ที่เกิดจากมารดาติดเชื้อ (1) 1. ป้องกันการติดเชื้อจากมารดา 2. ให้มีสุขภาพดี มีความสุข 3. กรณีที่ติดเชื้อ ให้มีชีวิตยืนยาว โดยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี
1. ป้องกันการติดเชื้อจากมารดา • มาตรการป้องกันที่เหมาะสมและค่าใช้จ่ายไม่สูง เกินไปให้ยาต้านไวรัส แก่ทารกเพื่อป้องกันการติด เชื้อจากมารดา ( ไม่ว่ามารดาจะได้ยามาก่อนหรือไม่ก็ตาม ) • แนะนำการป้องกันการติดเชื้อภายในครอบครัว หลังเกิด (horizontal transmission) • งดนมแม่
ประสิทธิภาพของการใช้ยา AZT+3TC ในประชากรศึกษาที่ไม่กินนมแม่ 34 wk 36 wk 14 wk 28 wk 4 wk 1 wk 6 wk 3 d Labor Mothers Babies EFF 67% 50% TR 076 AZT 7.6% BKK AZT 9.5% MOPH AZT 7.8% PHPT AZT 6.5% AZT 4.7% AZT 8.6% AZT 10.5% Siriraj AZT+3TC AZT 2.8%
Antenatal Antiretroviral Treatment and Perinatal Transmission in WITS, 1990-1999Blattner W. XIII AIDS Conf, July 2000, Durban S Africa (LBOr4) Type ARV vs None p value: 0.76 <0.01 <0.01 <0.01
สรุปรายงานการวิจัย ในการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก การให้ยาต้านไวรัส มีความสำคัญ ทั้ง 3 ระยะ 1.ขณะตั้งครรภ์-->ลด viral load ของมารดา ยา >1 ชนิดได้ผลดีกว่า -->ถ้าเริ่มยาเร็ว (หลังไตรมาสแรก) จะป้องกันการติดเชื้อใน ครรภ์( intrauterine infection) ได้ดีขึ้น -->อย่างน้อยควรได้ยาก่อนคลอด 4-6 สัปดาห์ เพื่อ ลดจำนวนไวรัสในแม่ ที่ทารกจะต้องสัมผัสขณะคลอด 2.ขณะคลอด--> เพื่อเพิ่มระดับยาในเลือดแม่สู่ทารก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หลังสัมผัส ( PEP) 3. ทารก--> เพื่อ PEP ( โดยเฉพาะที่มารดาได้ยาระยะสั้น หรือไม่ได้ยา) ควรเริ่มให้เร็วที่สุด ภายใน 48 ชั่วโมง (ยกเว้น กรณี NVP) ให้ยานานพอ (4-6 สัปดาห์)
ประสิทธิภาพของยา Nevirapine ครั้งเดียวในมารดาขณะเจ็บครรภ์ และครั้งเดียวในทารกอายุ 48-72 ชั่วโมง (SD-NVP) การศึกษาในประชากรที่ทารกกินนมแม่ TR at 6-8 wk 25% Maternal Rx during labor and NB Rx x1 wk AZT 20% 15% AZT NVP NVP AZT+3TC 10% AZT+NVP 5% P=0.11 NS Eff = 47% Eff = 45% 0% HIVNET 012 SAINT Ditrame+ Antenatal Rx None None AZT @ 36wk
ประสิทธิภาพของ SD-NVP หากให้เพิ่มเติมในมารดา และทารกที่ได้รับยาป้องกันการติดเชื้ออยู่แล้ว ศึกษาในประชากรที่ทารกไม่กินนมแม่ 4 4.6% 3.5 Pla-pla อัตราติดเชื้อในทารก 6.5% 3 NVP-Pla 2.8% 2.5 NVP-NVP Placebo 1.9% 2 NVP-NVP 1.6% 1.4% 1.5 1 NS 0.5 0 PHPT AZT (28) 1 ACTG 316 77% ได้HAART 6 TUC AZT (34) 4 ยาในแม่ (อายุครรภ์ที่เริ่ม) ยาในทารก AZT (สัปดาห์)
สูตรการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกโดยกระทรวงสาธารณสุขสูตรการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกโดยกระทรวงสาธารณสุข • พ.ศ. 2543-2546 แม่ : เริ่ม AZT 300 mg เช้า-เย็นตั้งแต่ครรภ์ 34 สัปดาห์ ระหว่างคลอด AZT ทุก 3 ชม ทารก : Syr AZT 1 สัปดาห์ ถ้าแม่ได้ยา > 4 สัปดาห์ Syr AZT 6 สัปดาห์ ถ้าแม่ได้ยา < 4 สัปดาห์ • พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป แม่ : เริ่ม AZT 300 mg เช้า-เย็นตั้งแต่ครรภ์ 28 สัปดาห์ ระหว่างคลอด AZT ทุก 3 ชม + NVP 1 dose ทารก : Syr AZT เช่นเดิม + NVP 1 dose เมื่ออายุ 48-72 ชม.
โครงการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก กระทรวงสาธารณสุข 2546 จำนวนหญิงที่มา ANC = 457,757 จำนวนที่ตรวจ Anti-HIV = 98.5% % Positive Anti-HIV = 1.2% (5,296) จำนวนที่ได้รับยาAZT = 79.3% (4863)
อัตราการดื้อยาในทารกที่ติดเชื้อ จากการใช้ยาในการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก • NVP (HIVNET 012) -> up to 46% • AZT (ACTG 076) -> not significant • AZT/3TC (PETRA) -> not significant • In the mothers: Resistance developedSingle dose NVP 15-25% • 2-dose NVP 67% • AZT/3TC at 32 wk 39% • AZT/3TC at 36 wk (PETRA-A) 12%
อัตราการติดเชื้อจากมารดาสู่ทารกเมื่อเริ่มยา AZT เมื่อเวลาต่างๆกัน, NY State, 1995-97 การเริ่มยา AZT n=423 n=86 n=38 n=237 Wade, et al. NEJM 1998
ประสิทธิภาพของการให้ยาในทารก ที่มารดาไม่ได้รับยาใดๆมาเลย (N=1180) อัตราการติดเชื้อในทารกที่ 6-8 สัปดาห์ 25 SD NVP+AZT 20.9% SD NVP 20 15.3% 15 12.1% 10 7.7% ประสิทธิภาพ 36.4% 5 P=0.009 0 เฉพาะที่ติดเชื้อระหว่างคลอด ทั้งหมด Taha. Lancet 2003;362:1171-7.
ประสิทธิภาพของการใช้ยาหลังสัมผัสโรค ขึ้นอยู่กับจุดที่เริ่มให้ยา และระยะเวลาที่ให้ยา 100 100 In 24 macaque monkeys inoculated with SIV and treated with PMPA 100 90 Tsai et al. J Virology 1998 80 70 60 อัตราการติดเชื้อ 50 50 50 40 30 20 10 0 0 เวลาที่เริ่มยา หลังได้รับเชื้อ (ชม) 24 48-72 24 24ไม่ได้ยา ระยะเวลาที่ให้ยา (วัน)28 28 10 3ไม่ได้ยา
การให้ยาในมารดา และทารก เมื่อมาคลอด โดยไม่ได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน >> ให้ยา NVP แก่มารดาได้ทันที • หากให้ยา NVP แก่มารดา ได้นานกว่า 1-2 ชั่วโมงก่อนคลอด • ให้ NVP แก่ทารก เมื่ออายุ 48-72 ชั่วโมง + syrup AZT 4-6 สัปดาห์ • หากให้ยา NVP แก่มารดา ก่อนคลอดไม่เกิน 1-2 ชม • ให้ NVP แก่ทารก ทันทีหลังคลอด และอีกครั้ง 48-72 ชั่วโมงต่อมา + syrup AZT 4-6 สัปดาห์ อาจใช้ AZT+3TC ระหว่างคลอด และให้ลูกอีก 7 วัน >> หากพบทารกหลังคลอดนานแล้ว แต่อายุไม่เกิน 2 วัน โดยมารดาไม่ได้รับยาใดๆมาก่อน ให้ยา syrup AZT 4-6 สัปดาห์(กรณีนี้อาจพิจารณาใช้ AZT+NVP หรือ triple AZT+3TC+NVP x 4 สัปดาห์ )
สรุปสูตรการให้ยา ในทารกแรกเกิด • มาตรฐาน ACTG076 • Syr. AZT 2 mg/kg ทุก 6 ชม. นาน 6 สัปดาห์ • สูตรที่ใช้ NVP (HIVNET 012) • NVP 2 mg/kg เมื่ออายุ 48-72 ชม. ( ให้ทันทีหลังเกิดเพิ่มอีก 1 dose ถ้าแม่ได้ยา < 1- 2 ชม. ก่อนคลอด ) • สูตรอื่นๆ • Syr. AZT 2 mg/kg ทุก 6 ชม. นาน 4 สัปดาห์ (ตามแบบPEP) • Syr. AZT 4 mg/kg ทุก 12 ชม. นาน 4-6 สัปดาห์ • Syr. AZT 4 mg/kg ทุก 12 ชม.ร่วมกับ Syr. 3TC 2 mg/kg ทุก 12 ชม 7 วัน • กระทรวงสาธารณสุข NVP 2 mg/kg เมื่ออายุ 48-72 ชม. ร่วมกับSyr. AZT 2 mg/kg ทุก 6 ชม. : --> x 1 สัปดาห์ ถ้ามารดาได้ AZT > 4 สัปดาห์ --> x 6 สัปดาห์ ถ้ามารดาได้ AZT < 4 สัปดาห์
AZT ปลอดภัย ? • เด็ก 727 ราย (ACTG 076, 219, WTTS) ยังไม่มีรายงานการเกิดมะเร็ง • Short term side effect: ซีด • Long term F/U ถึง 5.6 ปี Normal growth, cognitive development and immune function ? Mitochondrial dysfunction (8 cases with 2 deaths report from French) ทารกที่ติดเชื้อ และเคยได้ยา AZTระหว่างอยู่ในครรภ์ จะดำเนินโรคเร็วกว่า และมีโอกาสเป็นเอดส์หรือเสียชีวิตภายในอายุ 1 ปี มากกว่า ( JID2000;182:104-11)
ความปลอดภัยของยา AZT ในทารก เมื่อให้ยาในมารดาแบบระยะสั้น • เด็ก 395 ราย : 196 รายได้รับ AZT 199 รายได้รับ placebo • ค่าเฉลี่ย Hct ตอนแรกเกิดต่ำกว่าในกลุ่มที่ได้ AZT (49.1% VS 51.5%), แต่เมื่อติดตามต่อไปพบว่าไม่ต่างกัน • ค่าเฉลี่ย น้ำหนัก ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะ CD4 และ CD8 ใกล้เคียงกัน • เด็กมีไข้แล้วชัก 6 ราย เป็นเด็กที่ได้รับ AZT และไม่ติดเชื้อ 5 รายและเป็นเด็กที่ได้รับ placebo 1 ราย • ไม่พบมีมะเร็งหรือ mitichondrial dysfunction Chotpitayasunondh T, et al. Pediatrics 2001
ผลอันไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดกับทารกในครรภ์ จากการใช้ยาในมารดา • AZT: Transient anemia, + mitochondrial dysfunction • AZT+3TC: Neutropenia, thrombocytopenia, + mitochondrial dysfunction • d4T / ddI : Safe (limited data) • NVP (single dose): Transient anemia • EFV: Myelomeningocele • PIs: May cause premature labor
อัตราการติดเชื้อจากการกินนมแม่การศึกษาในประเทศMalawiอัตราการติดเชื้อจากการกินนมแม่การศึกษาในประเทศMalawi 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 อัตราการติดเชื้อเฉลี่ยต่อเดือนที่กินนมแม่ (%) 0.3 0.2 0.1 0 1-5 เดือน 6-11 เดือน 12-17 เดือน 18-23 เดือน Miotti et al: JAMA, 1999
Common Pitfalls • ไม่ให้คำแนะนำถึงสูตรการรักษาที่ดีอื่นๆ โดยเฉพาะในรายที่สามารถรับค่าใช้จ่ายได้ • รอเริ่มให้ยาในครรภ์แก่ ทั้งๆที่มาฝากครรภ์ตั้งแต่ครรภ์อ่อนๆ • ไม่ให้การตรวจวินิจฉัย หรือรักษาในผู้ที่มาคลอดโดยไม่ได้ฝากครรภ์ หรือไม่รู้ผลเลือด • ไม่รีบเริ่มยาในทารก • ไม่ให้ยาในทารกที่คลอดจากที่อื่น แต่อายุน้อยกว่า 2 วัน • ไม่ให้คำแนะนำในการให้ยาในทารก (อาจให้วันละ 2หรือ 4 ครั้ง) • ไม่ติดตามดูผลอันไม่พึงประสงค์ในทารก
เป้าหมายของการดูแลทารก ที่เกิดจากมารดาติดเชื้อ (1) 1. ป้องกันการติดเชื้อจากมารดา 2. ให้มีสุขภาพดี มีความสุข 3. กรณีที่ติดเชื้อ ให้มีชีวิตยืนยาว โดยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี
2. ให้มีสุขภาพดี มีความสุข • ติดตามพัฒนาการ และการเจริญเติบโต • แนะนำการดูแลสุขภาพกาย (+ฟัน ) • ให้วัคซีน • ตรวจร่างกาย ตรวจภาวะการติดเชื้อ HIV ในเด็ก • ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส (1ry & 2ry prophylaxis) • ให้คำปรึกษาแก่ครอบครัว
แนะนำการดูแลด้านสุขภาพเด็ก เป้าหมาย : ให้มีสุขภาพดี มีความสุข • ให้อาหารที่เหมาะตามวัย • แนะนำสุขอนามัยที่ดี หมั่นล้างมือ • ดื่มน้ำต้มสุก สะอาด • ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีการสัมผัส • ให้มีกิจกรรมตามปกติที่เหมาะกับวัย • ส่งเสริมให้ไปโรงเรียน ร่วมกิจกรรมได้ • ดูแลสุขภาพฟัน ตรวจร่างกายเป็นระยะ
การให้วัคซีนแก่เด็กที่ติดเชื้อ HIV Routine ( EPI ) Optional • BCG (endemic, only ‘N’) • Hib(with booster) • HBV • HAV • DTP • Influenza • OPV or IPV • VZV 2 doses (3M) • MMR (not ‘C’ or ‘3’) (only N1or A1) • JE (endemic) • Pneumococcal
Routine Immunization Schedule for HIV- exposed /- infected Thai Children VZV1,2Pnc, HAV Hib 1 2 (3) boost JE1,2 3 MMR 1(2) 2 OPV/IPV, DTP 1 2 3 4 5 HBV1,2 3 BCG B 1 2 4 6 9 12 18 24m // 4-6y
Early Identify / Exclude HIV Infection • วินิจฉัยภาวะการติดเชื้อ HIV ให้ได้เร็วที่สุด เพื่อประโยชน์ วางแผนในการรักษา และดูแลเด็ก - วินิจฉัยจากอาการทางคลินิกที่บ่งบอก - ตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ(ถ้าทำได้) : HIV-DNA-PCR, HIV-RNA (หรือ Culture) เมื่อ1-2 & 4-6 เดือน ( P24- ICD มีความจำเพาะสูงแต่ไม่ไวพอ) - ตรวจ anti-HIV เมื่ออายุ 12 เดือน ( >95% ของเด็กที่ไม่ติดเชื้อ จะให้ผลลบ ) ถ้าผลยังไม่เป็นลบ ตรวจซ้ำเมื่ออายุ 18 เดือน
1-2 เดือนแรก :-- ส่วนใหญ่ มีเพียงอาการ ผิดปกติเล็กน้อย 2-4 เดือนแรก :- - ตับ ม้ามโต- ต่อมน้ำเหลืองโต - oral candidiasis - เลี้ยงไม่โต หลัง 3-6 เดือน :-- พัฒนาการช้า- น้ำหนักขึ้นน้อย เลี้ยงไม่โต- อาจมีปอดอักเสบ เยื่อหุ้มสมอง อักเสบ หรือติดเชื้อในกระแส เลือด - ป่วยด้วย bacterial infection ซ้ำๆ - โรคติดเชื้อฉวยโอกาส อาการแสดงของโรคที่มักพบในขวบปีแรก
ลักษณะทางคลินิกที่สัมพันธ์กับ HIV Infection เมื่ออายุ 6 เดือนInfected n=43, Uninfected n=316 %Sens %Spec %PPV %NPV Splenomegaly 51 >99 96 94 Hepatomegaly 50 98 75 93 Lymphadenopathy 23 99 83 90 Growth Failure 12 >99 89 89 Delayed development 9 100 100 89 Thrush 7 >99 75 89 Any 70 95 65 96 K.Chokephaibulkit. AIDS2000;14:1563-9.
PPE Puritic Papular Eruption
Age 18 months Delayed development and Growth Failure
การวินิจฉัยการติดเชื้อ HIV ในทารก ไม่มีผลกระทบ จากการที่แม่ได้ยา • PCR or culture >> Sensitivity 38% เมื่ออายุ 48 ชม. 93% เมื่ออายุ 14 วัน >> Intrauterine = +ve เมื่ออายุ< 48 ชม. Intrapartum = -ve เมื่ออายุ< 7 วัน จากนั้น --> +ve >> แนะนำให้ทำเมื่อแรกเกิด ,(14 วัน), 1-2 เดือน, 4-6 เดือน >> HIV infection = +ve 2 ครั้ง HIV uninfected = -ve เมื่อ> 1 เดือน และ> 4 เดือน
การป้องกันโรค Pneumocystis carinii pneumonia (PCP) • พบมากช่วงอายุ 3-6 เดือน >> อาจพบในเด็กที่ดูสุขภาพแข็งแรง และมี CD4 ปรกติและยังวินิจฉัยไม่ได้ว่าติดเชื้อ HIV หรือไม่ • ร้ายแรงถึงแก่ชีวิตหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม • สามารถป้องกันได้ด้วยยาที่มีประสิทธิภาพดี ราคาถูก
แนวทางที่ 1 เริ่มเมื่ออายุ 4-6 สัปดาห์ทุกราย หยุดเมื่อพบว่าไม่ติดเชื้อ ( PCR -ve) หรือ ไม่มีอาการของ HIV หลัง อายุ 6 เดือน ถ้ามีอาการ หรือพิสูจน์ได้ว่าติดเชื้อ HIV ให้นานอย่างน้อยถึงอายุ 1 ปี แนวทางที่ 2 ให้เมื่อมีอาการหรืออาการแสดงอย่างใดอย่างหนึ่งที่สงสัยว่าอาจติดเชื้อ HIV หรือเมื่อ PCR หยุดเมื่อพบว่าไม่ติด การป้องกันการติดเชื้อ PCP มี 2 แนวทาง ข้อดี : ใช้ยาน้อย ข้อเสีย : ป้องกัน PCP ไม่ได้ทุกราย เพราะ PCP อาจเกิดก่อนอาการที่บ่งถึง HIV, หรือก่อนจะทราบว่า ติดเชื้อ HIV ข้อดี : ปลอดภัย ไม่พลาด ข้อเสีย : ใช้ยากับเด็กทุกราย แม้ไม่ติดเชื้อ HIV
การใช้ยาป้องกัน PCP ในช่วงอายุ 1-6 เดือน โดยใช้อาการเป็นตัวกำหนดการหยุดยาที่อายุ 6 เดือน HIV-Infected HIV-Uninfected การตัดสินใจที่ 6 เดือน (n=43) (n=316) ให้กินยาต่อ 30 (70%) 16 (5%) ให้หยุดยา 13 (30%) 300 (95%) TMP-SMX ช่วงอายุ 1-6 เดือน สามารถลด incidence of pneumonia 22%->13% mortality from pneumonia 8.8%->4.3% K.Chokephaibulkit. AIDS2000;14:1563-9.