1 / 82

โดย

วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง. โดย. ดร. อลงกต วรกี ผู้อำนวยการส่วนรักษาความสงบเรียบร้อย 2 สำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง. กระบวนการยุติธรรม. คู่กรณี ( ประชาชน / หน่วยงานของรัฐ ). ทางปกครอง. ทางอาญา. ทางแพ่ง. การสืบสวนสอบสวน. การฟ้องและการต่อสู้คดี. การฟ้องและการต่อสู้คดี.

kedem
Download Presentation

โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง โดย ดร. อลงกต วรกี ผู้อำนวยการส่วนรักษาความสงบเรียบร้อย 2 สำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง

  2. กระบวนการยุติธรรม คู่กรณี ( ประชาชน / หน่วยงานของรัฐ ) ทางปกครอง ทางอาญา ทางแพ่ง • การสืบสวนสอบสวน • การฟ้องและการต่อสู้คดี • การฟ้องและการต่อสู้คดี ผู้ต้องหา พนง.สอบสวน/สนง.ตำรวจ ทนายความ คู่ความ ทนายความ/สภาทนายความ อัยการ • การสั่งฟ้อง อัยการ/สำนักงานอัยการ • การพิจารณาพิพากษาคดี • การพิจารณาพิพากษาคดี • การพิจารณาพิพากษาคดี ศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม ศาลปกครอง สำนักงานศาลปกครอง • การบังคับคดี • การบังคับคดี • การบังคับคดี กรมราชทัณฑ์ กรมคุมประพฤติ สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และ เยาวชนกลาง / กระทรวงยุติธรรม การบังคับคดี / กระทรวงยุติธรรม สำนักงานศาลปกครอง 2 2

  3. หลัก Justice must not only be done, but it must also be seen to be done • พิจารณาโดยเปิดเผย • ฟังความทุกฝ่าย • เปิดโอกาสให้โต้แย้ง • แสดงเหตุผลประกอบคำวินิจฉัย • ไม่พิจารณาคดีเกินคำขอ และต้องไม่น้อยกว่าคำขอ • ไม่พิจารณาเรื่องที่ตนมีส่วนได้เสีย (No one can judge his our case)

  4. การจัดองค์กรและการบริหารงานกระบวนการยุติธรรมการจัดองค์กรและการบริหารงานกระบวนการยุติธรรม ศาล ปกครอง ในภูมิภาค ศาล ปกครอง กลาง ระบบศาลคู่ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม ( ข้อพิพาท ทางปกครอง ) ( ข้อพิพาท ทางแพ่งและอาญา ) ศาลปกครองสูงสุด ศาลฎีกา ศาลปกครองชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ ภาค 1-9 ศาลชั้นต้น ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลจังหวัด / แขวง ฯลฯ สนง. ศาลปกครอง สนง. ศาลยุติธรรม 4

  5. การพิจารณาพิพากษาคดี ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ระบบวิธี พิจารณา ระบบกล่าวหา ระบบไต่สวน เอกชน เอกชน หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ คู่พิพาท เอกชน คู่ความทั้ง 2 ฝ่าย ไม่เท่าเทียมกัน/เอกชนเสียเปรียบ ลักษณะ ข้อพิพาท คู่ความทั้ง 2 ฝ่าย เสมอภาคกัน “ผู้ใดกล่าวอ้างผู้นั้นนำสืบ” แพ้ชนะคดีอยู่ที่คู่ความใด มีพยานหลักฐานที่ดีกว่ากัน บทบาท ของศาล ศาลต้องแสวงหาข้อเท็จจริง ตัดสินอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง ผลของคำพิพากษาอาจกระทบ ต่อการบริหารราชการแผ่นดิน 5

  6. อำนาจของศาลปกครอง • ข้อพิพาทระหว่าง “รัฐ” หรือ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ กับ “เอกชน” • หรือ • ข้อพิพาทระหว่าง “รัฐ” หรือ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ด้วยกันเอง • และ • ข้อพิพาทนั้นต้องเนื่องมาจากการกระทำ / ละเว้นกระทำ • ที่รัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมาย หรือต้องรับผิดชอบ • ในการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย 6

  7. อำนาจหน้าที่ของศาลปกครอง ตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 พิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในคดีพิพาทเกี่ยวกับ หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า การกระทำละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ สัญญาทางปกครอง คดีที่กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องคดีต่อศาล เพื่อบังคับให้บุคคลต้องกระทำหรือละเว้นกระทำอย่างหนึ่งอย่างใด เรื่องที่มีกฎหมายกำหนดให้อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครอง 7

  8. ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณา “คดีปกครอง” คู่กรณี (เป็นคดีพิพาทระหว่าง) หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐ กับเอกชน หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ด้วยกันเอง ลักษณะคดีพิพาท (พิพาทในเรื่อง) หน่วยงานฯ/จนท.ของรัฐ กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย จากการออกกฎ คำสั่ง หรือการกระทำอื่น หน่วยงานฯ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ละเลยต่อหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร ละเมิดเจ้าหน้าที่ และความรับผิดอย่างอื่น สัญญาทางปกครอง กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานฯ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ฟ้องคดีต่อศาลปกครอง กฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง 8

  9. การกระทำของฝ่ายปกครองการกระทำของฝ่ายปกครอง การกระทำทั่วไป การกระทำทางปกครอง ปฏิบัติการทางปกครอง การกระทำฝ่ายเดียว การวินิจฉัยข้อพิพาท การกระทำสองฝ่าย กฎ คำสั่งทางปกครอง สัญญาทางปกครอง โดยกฎหมาย โดยเนื้อหา

  10. คำสั่งทางปกครอง : “การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการสร้าง นิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล ในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรองและการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ” (มาตรา 5 วรรคสาม ของ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539) 10

  11. คำสั่งทางปกครอง การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ มีผลสร้างนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล/กระทบสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล มีผลเฉพาะ “กรณีใด หรือบุคคลใด” เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง การรับจดทะเบียน

  12. กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2543) • การดำเนินการสั่งซื้อหรือสั่งจ้างของทางราชการ เช่น • สั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขายหรือรับจ้าง • อนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง • สั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ • สั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน 12

  13. ตัวอย่างคำสั่งทางปกครองตัวอย่างคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งบรรจุแต่งตั้งข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ • คำสั่งเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง • คำสั่งลงโทษทางวินัย • คำสั่งไม่ออกใบอนุญาตต่างๆ ของทางราชการ • คำสั่งเพิกถอน / พักใช้ใบอนุญาต • คำสั่งจัดซื้อจัดจ้างของทางราชการ • คำสั่งให้รื้อถอนอาคาร สิ่งปลูกสร้าง • คำสั่งไม่รับพิจารณาอุทธรณ์ • คำสั่งไม่รับจดทะเบียนสมรส ฯลฯ 13

  14. การสั่งราชการคือ 1. การตัดสินใจของผู้มีอำนาจตามกฎหมาย 2. ปรากฏออกมาภายนอกเป็นลายลักษณ์อักษร หรือด้วยวาจา 3. เพื่อให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งปฏิบัติตามคำสั่ง 14

  15. เป้าหมาย สั่งราชการ ปฏิบัติ ตัวแบบของการสั่งราชการ ผลการปฏิบัติ 15

  16. 1. การสั่งราชการที่มีผลต่อบุคคลภายนอกส่วนราชการ (คำสั่งทางปกครอง) 2. การสั่งราชการที่มีผลผูกพันเฉพาะบุคคลภายในส่วน ราชการ (การสั่งการภายใน) 3. การสั่งราชการภายในอาจมีผลเป็นคำสั่งทางปกครองได้ ถ้ามีผลกระทบถึงสถานะภาพของบุคคลอื่น ลักษณะการสั่งราชการ 16

  17. คำสั่งภายในที่มีผลเป็นคำสั่งทางปกครองคำสั่งภายในที่มีผลเป็นคำสั่งทางปกครอง ผู้บังคับบัญชามีคำสั่งกำหนดแนวทางการพิจารณาอนุญาตไว้เป็นเกณฑ์กลางทั่วไป เจ้าหน้าที่ออกหรือไม่ออกใบอนุญาตให้ประชาชน ประชาชนยื่นขออนุญาตต่อเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่พิจารณาตามเกณฑ์กลาง 17

  18. คำสั่งราชการที่มีผลต่อบุคคลภายนอกคำสั่งราชการที่มีผลต่อบุคคลภายนอก เจ้าหน้าที่ออกใบอนุญาตหรือไม่ออกใบอนุญาตให้แก่ประชาชน เจ้าหน้าที่สรุปเรื่องเสนอผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชามีคำสั่งต่อเจ้าหน้าที่ให้อนุญาต/ไม่อนุญาต ประชาชนยื่นขออนุญาตต่อเจ้าหน้าที่ 18

  19. 1. กรณีคำสั่งทางปกครอง ย่อมจะมีผลผูกพันการวินิจฉัยของหน่วยงาน และผูกพันบุคคลภายนอกผู้รับคำสั่งที่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหากไม่เห็นด้วยต้องฟ้องต่อศาลปกครอง ผลในทางกฎหมายที่เกิดขึ้นจากการสั่งราชการ 19

  20. 2. กรณีการสั่งราชการภายใน มีผลบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตาม การฝ่าฝืนอาจมีโทษทางวินัย เว้นแต่ คำสั่งนั้นฝ่าฝืนกฎหมาย ย่อมไม่ผูกพันให้ต้องปฏิบัติตาม ผลในทางกฎหมายที่เกิดขึ้นจากการสั่งราชการ 20

  21. ความเป็นธรรม ความเป็นกลาง ความโปร่งใส คำสั่งทางปกครองต้องใช้หลักเกณฑ์ตามพ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 หลักเกณฑ์ความชอบด้วยกฎหมายในการสั่งราชการ 21

  22. ผู้ออกคำสั่ง ต้องเป็นผู้มีอำนาจตามกฎหมาย เรื่องที่สั่งต้องอยู่ในกรอบของกฎหมาย หรือตามอำนาจหน้าที่ ต้องอยู่ในขอบเขตอำนาจหน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชาที่จะสามารถปฏิบัติได้ การสั่งราชการต้องมุ่งหวังให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ ไม่เปิดโอกาสให้แสวงหาประโยชน์ หลักเกณฑ์การสั่งราชการภายในที่ดี 22

  23. ผู้ออกคำสั่ง (ต่อ) การสั่งราชการต้องเป็นลายลักษณ์อักษรเสมอ การสั่งด้วยวาจาเป็นข้อยกเว้น กรณีเร่งด่วนหรือไม่อาจจัดทำเป็นลายลักษณ์อักษร ต้องรับผิดชอบในผลของการสั่งราชการ ควรติดตามผลโดยให้มีรายงานผลการปฏิบัติราชการ หลักเกณฑ์การสั่งราชการภายในที่ดี 23

  24. ผู้รับคำสั่ง ต้องทำความเข้าใจในคำสั่งให้ถูกต้อง กรณีเห็นว่าการสั่งราชการไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ต้องทบทวนคำสั่งให้ผู้ออกคำสั่งพิจารณาให้รอบคอบ ถ้าสั่งด้วยวาจา ให้รีบบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อดำเนินการเสร็จต้องรายงานหรือแจ้งผล หากเป็นการสั่งด้วยวาจาประโยชน์ หลักเกณฑ์การสั่งราชการภายในที่ดี 24

  25. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

  26. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง : การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มี “คำสั่งทางปกครอง” หรือ “กฎ” และรวมถึง “การดำเนินการใดๆ ในทางปกครอง” ตามพระราชบัญญัตินี้ การพิจารณาทางปกครอง : การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มี “คำสั่งทางปกครอง” 26

  27. ความหมายของคำสั่งทางปกครองความหมายของคำสั่งทางปกครอง • เป็นมาตรการอันเกิดจากการใช้อำนาจรัฐ • ต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ • ต้องเป็นการกำหนดเกณฑ์อันมุ่งต่อผลในทางกฎหมาย • ต้องเป็นการกระทำที่เกิดผลเฉพาะกรณี • ต้องมีผลบังคับโดยตรงออกไปภายนอกฝ่ายปกครอง 27

  28. เงื่อนไขทางกฎหมายในการออกคำสั่งทางปกครองเงื่อนไขทางกฎหมายในการออกคำสั่งทางปกครอง • มี 2 เงื่อนไข • แบบพิธี • เนื้อหา 28

  29. เงื่อนไขแห่งความชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองเงื่อนไขแห่งความชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง เงื่อนไขทางเนื้อหา เงื่อนไขทางแบบพิธี 1. อำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่ง 2. กระบวนการและขั้นตอนออกคำสั่ง 3. ระยะเวลาในการออกคำสั่ง 4. แบบของคำสั่ง 5. การให้เหตุผลประกอบการออกคำสั่ง 6. การจดแจ้งสิทธิอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่ง 1. ความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่เป็นฐานอำนาจ 2. ความมีอำนาจในการออกคำสั่ง เป็นเครื่องมือดำเนินการ 3. ความถูกต้องในการใช้ดุลพินิจ 4. ความสอดคล้องกับหลักพอสมควรแก่เหตุ 5. ความชัดเจนแน่นอนของเนื้อหา 6. ความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามคำสั่ง 7. ความสอดคล้องของคำสั่งกับกฎหมายในลำดับชั้นที่สูงกว่า 29

  30. อำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่ง • ก) พิจารณาในแง่เรื่องที่มีอำนาจ • ข) พิจารณาในแง่พื้นที่ที่มีอำนาจ • ค) พิจารณาในแง่ของตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจ • ง) พิจารณาในแง่ตัวบุคคลที่มีอำนาจในตำแหน่ง (บางคนอาจไม่มีอำนาจทำคำสั่ง) 30

  31. กระบวนการและขั้นตอนในการออกคำสั่งกระบวนการและขั้นตอนในการออกคำสั่ง • ต้องไม่คำนึง เฉพาะ “เนื้อหา” ของคำสั่งเพียงอย่างเดียวต้องปฏิบัติตาม “กระบวนการและขั้นตอน” ที่กฎหมายกำหนดด้วย • 2.1 การกำหนดคู่กรณีในคำสั่ง • 2.2 การตรวจสอบความสามารถในการมีส่วนร่วมในกระบวนพิจารณา ของคู่กรณี • 2.3 การตรวจสอบเหตุ แห่งการไม่สามารถทำคำสั่งของเจ้าหน้าที่ผู้ทรง อำนาจ • ก) ความไม่เป็นกลางโดยสภาพภายนอก (มาตรา 13) • ข) ความไม่เป็นกลางโดยสภาพภายใน (มาตรา 16) 31

  32. กระบวนการและขั้นตอนในการออกคำสั่งกระบวนการและขั้นตอนในการออกคำสั่ง • ต้องไม่คำนึง เฉพาะ “เนื้อหา” ของคำสั่งเพียงอย่างเดียวต้องปฏิบัติตาม “กระบวนการและขั้นตอน” ที่กฎหมายกำหนดด้วย • 2.4 การค้นหาความจริงโดยใช้ระบบไต่สวน (มาตรา 28,29) • 2.5 การให้สิทธิคู่กรณีในการตรวจดูเอกสาร (มาตรา 31) • 2.6 การให้คู่กรณีทราบข้อเท็จจริงและการให้คู่กรณีมีโอกาสโต้แย้งและ แสดงพยานหลักฐานก่อนออกคำสั่ง (มาตรา 30) • ก) คำสั่งที่ให้ประโยชน์แก่คู่กรณี ไม่จำเป็นต้องรับฟังคู่กรณี • ข) คำสั่งที่กระทบสิทธิคู่กรณี จำเป็นต้องรับฟังคู่กรณี 32

  33. ข้อยกเว้น 1. เมื่อมีความจำเป็นเร่งด่วน หากเนิ่นช้าจะเสียหายร้ายแรง 2. เมื่อจะมีผลทำให้ระยะเวลาที่กฎหมาย / กฎ กำหนดไว้ในการทำคำสั่ง ต้องล่าช้าออกไป 3. เมื่อเจ้าหน้าที่ใช้ข้อมูลที่คู่กรณีเองได้ให้ไว้ในคำขอ 4. เมื่อโดยสภาพเห็นได้ชัดว่าไม่อาจทำได้ 5. เมื่อคำสั่งเป็นมาตรการบังคับทางปกครอง (สั่งปรับ) 6. กรณีที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง (พ.ศ. 2540) เช่น การบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนขั้นเงินเดือน การแจ้งผลการสอบ ไม่ออกหนังสือเดินทาง การสั่งเนรเทศ เป็นต้น 33

  34. 3. ระยะเวลาในการออกคำสั่ง - เมื่อกฎหมายกำหนดระยะเวลาออกคำสั่ง หากไม่เสร็จ ผลในทาง กฎหมายย่อมเป็นไปตามกฎหมายฉบับที่กำหนด - กรณีกฎหมายไม่บัญญัติผลตามมา ให้พิจารณาว่า เป็น “ระยะเวลา เร่งรัด” หรือ “ระยะเวลาที่มีสภาพบังคับ”ซึ่งผลในทางกฎหมายจะ ต่างกัน 34

  35. 4. แบบของคำสั่งทางปกครอง (มาตรา 34) ก. หนังสือ ข. วาจา ถ้าร้องขออย่างมีเหตุผลภายใน 7 วัน ให้ยืนยันเป็นหนังสือ ค. รูปแบบอื่น เช่น แสงไฟ เครื่องหมาย การแสดงกิริยาอาการ 35

  36. 5. การให้เหตุผลประกอบการออกคำสั่ง (มาตรา 37 และ 39) - คำสั่งเป็นหนังสือจำเป็นต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ ทุกกรณี เพื่อให้ผู้รับคำสั่งสามารถต่อสู้ ป้องกันสิทธิของตนเองได้อย่างถูกต้อง - เหตุผลต้องประกอบด้วย ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย ข้อพิจารณา และ ข้อสนับสนุนการใช้ดุลพินิจ - หากไม่มีเหตุผล คำสั่งย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมาย 36

  37. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี กำหนดให้คำสั่งทางปกครองดังต่อไปนี้ ต้องระบุเหตุผล 1. คำสั่งปฏิเสธการก่อตั้งสิทธิ 2. คำสั่งเพิกถอนสิทธิ 3. คำสั่งที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ 4. คำสั่งที่เป็นการวินิจฉัยอุทธรณ์ 5. คำสั่งยกเลิกสอบราคา ประกวดราคา 37

  38. กรณีดังต่อไปนี้ ไม่ต้องระบุเหตุผลประกอบคำสั่ง 1. ผลตรงตามคำขอ และไม่กระทบสิทธิหน้าที่บุคคลอื่น 2. เหตุผลเป็นที่รู้กันอยู่แล้ว 3. เป็นกรณีต้องรักษาความลับตามมาตรา 32 โดยใช้แนวทางตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 4. กรณีออกคำสั่งด้วยวาจาหรือเร่งด่วน (แต่ต้องให้เหตุผลภายหลังหากมี การร้องขอ) 38

  39. 6. การจดแจ้งสิทธิอุทธรณ์ - ต้องระบุกรณีที่อาจอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่ง (มาตรา 40) - มีขั้นตอน หลักเกณฑ์ วิธีการ ตามกฎหมายเฉพาะ ใช้กฎหมายเฉพาะ - ถ้าไม่มีกฎหมายเฉพาะระบุไว้ อุทธรณ์ภายใน 15 วัน นับแต่รับแจ้ง (มาตรา 44) - การฝ่าฝืนมีผลต่อการนับระยะเวลาอุทธรณ์คำสั่ง 39

  40. พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (มาตรา 44 วรรคหนึ่ง) ภายใต้บังคับมาตรา 48 ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมายกำหนดขั้นตอนอุทธรณ์ภายในฝ่ายปกครองเป็นการเฉพาะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่งทางปกครองภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งคำสั่งดังกล่าว 40

  41. การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง 1. เป็นขั้นตอนที่จำเป็นในการใช้สิทธิทางศาล 2. ถ้ากฎหมายเฉพาะไม่กำหนดไว้ ต้องอุทธรณ์ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 3. ต้องอุทธรณ์เว้นแต่เป็นคำสั่งของรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการ หรือกรณีที่กฎหมายยกเว้น 4. ยื่นอุทธรณ์ต่อเจ้าหน้าที่ที่ออกคำสั่ง 5. การพิจารณาอุทธรณ์ 2 ชั้น 41

  42. เงื่อนไขในทางเนื้อหา • เนื้อความของคำสั่งสอดคล้องกับกฎหมาย • มีฐานกฎหมายรองรับ • ผู้ออกคำสั่งใช้ดุลพินิจโดยไม่มีข้อบกพร่อง ใช้หลักพอสมควรแก่เหตุ • ชัดเจน เพียงพอให้ผู้รับคำสั่งเข้าใจได้ • มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามคำสั่ง 42

  43. การออกคำสั่งมีความเป็นทางการน้อยกว่าการพิจารณาพิพากษาคดีในชั้นศาล แต่กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก็ได้กำหนด 5 หลักการ และ 5 สิทธิ คุ้มครองคู่กรณี 43

  44. หลักการ • หลักไม่ยึดแบบพิธี • หลักอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน • หลักการใช้ภาษาไทย • หลักค้นหาความจริงโดยไต่สวน • หลักให้คู่กรณีมีส่วนร่วมในกระบวนพิจารณา 44

  45. สิทธิ • สิทธิได้รับคำแนะนำ • สิทธิที่จะอุทธรณ์โต้แย้ง • สิทธิในการรับทราบข้อกล่าวหา ข้อเท็จจริง • สิทธิทราบเหตุผลของการออกคำสั่ง • สิทธิตรวจดูเอกสารของเจ้าหน้าที่ 45

  46. ผลในทางกฎหมายของคำสั่งทางปกครองผลในทางกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง 1. ความชอบ/ไม่ชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเงื่อนไขที่กฎหมายเรียกร้องในการออกคำสั่ง ซึ่งองค์กรทางปกครองต้องเคารพและปฏิบัติตาม 2. ความมีผล/ไม่มีผลทางกฎหมายของคำสั่งทางปกครองเป็นเรื่องที่จัดอยู่ในส่วนของ “ผลทางกฎหมาย” 46

  47. การเกิดผลของคำสั่งทางปกครองการเกิดผลของคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งทางปกครองมีผลทางกฎหมายต่อเมื่อคำสั่งทางปกครอง “ไปถึง” ผู้รับ โดยไม่จำเป็นว่าผู้รับ จะต้องทราบเนื้อหาของคำสั่ง • การแจ้งคำสั่ง เป็นเงื่อนไขของการเกิดคำสั่งทางปกครอง ไม่ใช่เงื่อนไขแห่งความชอบด้วยกฎหมาย • คำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายถึงขนาดตกเป็นโมฆะ ย่อมไม่เกิดผลทางกฎหมาย 47

  48. การสิ้นผลของคำสั่งทางปกครองการสิ้นผลของคำสั่งทางปกครอง • คำสั่งเมื่อเกิดผลแล้ว ย่อมมีผลในทางกฎหมายเรื่อยไป แม้คำสั่งจะไม่ชอบ จนกว่าจะมีการกระทำมา ลบล้างหรือสิ้นผลโดยตัวมันเอง เช่น มีเงื่อนเวลาสิ้นสุดการกระทำทางปกครองหรือการกระทำทางตุลาการ มาทำให้สิ้นผล 48

  49. ผลในทางกฎหมายของคำสั่งทางปกครองที่มีความบกพร่องผลในทางกฎหมายของคำสั่งทางปกครองที่มีความบกพร่อง • ฝ่าฝืนกฎหมายอย่างรุนแรง หรือผิดพลาดอย่างรุนแรงและประจักษ์ชัด คำสั่งจะไม่มีผลทางกฎหมาย (โมฆะ) • ไม่ชอบด้วยกฎหมายแต่ไม่ถึงขนาดรุนแรง ยังคงมีผลบังคับอยู่ต่อไป จนกว่าจะถูกเพิกถอน • ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกระบวนการขั้นตอนบางประการ แม้เป็นคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบ แต่หากมีการแก้ไขเยียวยาข้อบกพร่องย่อมหายไป • กระทำโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน วิธีการ แต่ไม่ใช่สาระสำคัญ คำสั่งทางปกครองย่อมมีผลทางกฎหมาย • ผิดพลาดเล็กน้อยหรือผิดหลงเล็กน้อย เจ้าหน้าที่แก้ไขได้เสมอ เป็นคำสั่งที่ชอบ 49

  50. ความเป็นโมฆะของคำสั่งทางปกครองความเป็นโมฆะของคำสั่งทางปกครอง คำสั่งที่เป็นโมฆะ ต่างกับ การกระทำที่ไม่ก่อให้เกิดคำสั่งทางปกครอง 50

More Related