250 likes | 504 Views
ข้อมูลจังหวัดขอนแก่น. จำนวนอำเภอ/กิ่งอำเภอ 20/5 อำเภอ/กิ่งอำเภอ. พื้นที่ 10,886 (6.8 ล้านไร่) ตารางกิโลเมตร. จำนวนประชากร 1,846,116 คน. จำนวนผู้มีงานทำ 950,886 คน. แรงงานในภาคเกษตร 510,287 คน.
E N D
ข้อมูลจังหวัดขอนแก่น • จำนวนอำเภอ/กิ่งอำเภอ 20/5 อำเภอ/กิ่งอำเภอ • พื้นที่ 10,886 (6.8 ล้านไร่) ตารางกิโลเมตร • จำนวนประชากร 1,846,116 คน • จำนวนผู้มีงานทำ 950,886 คน • แรงงานในภาคเกษตร 510,287 คน • แรงงานนอกภาคเกษตร 440,599 คน • จำนวนผู้ว่างงาน 30,000 คน
วิสัยทัศน์กลุ่ม “ ร้อย แก่น สาร” ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม ศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการบริการในภูมิภาค สู่สากล REGIONAL COMMERCE-INVESTMENT AND SERVICES CENTER TOWARDS INTERNATIONAL
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด การเพิ่มขีดความสามารถทางการค้า การลงทุน และการบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ปรับโครงสร้างการผลิต และการตลาด ยุทธศาสตร์ที่ 1 รวบรวมและกระจาย สินค้าในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างศักยภาพการ แข่งขันภาคอุตสาหกรรม Labour Hub ศูนย์รวบรวม กระจายสินค้า การลงทุน และการส่งออก (ONE STOP SERVICE) E-Saan Software Park OTOP & SMEs CENTER POINT พัฒนาทุนมนุษย์ ลุ่มน้ำโขง บูรณาการการผลิต ข้าวหอมมะลิ เพื่อการส่งออก ICD
วิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดขอนแก่นวิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดขอนแก่น “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การบริการ และการคมนาคมขนส่งในภูมิภาค สู่สากล”
ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 4 ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 5 ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาเมือง และชนบท อย่างยั่งยืน สร้างศักยภาพการ แข่งขันทาง เศรษฐกิจ การจัดระบบการ บริหารจัดการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดขอนแก่น ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การบริการ และการคมนาคมขนส่งในภูมิภาค สู่สากล” วิสัยทัศน์ • Goals • GPP เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 8 • ลดจำนวนคนยากจนลงไม่น้อยกว่า • ร้อยละ 16 การพัฒนาทุนมนุษย์ - โครงการพัฒนาศักยภาพ กำลังแรงงาน การแก้ไขปัญหา ความยากจน
โครงการพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงานโครงการพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงาน • ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงานแห่งชาติ • อัตราการว่างงานลดลง ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน
ประวัติความเป็นมา สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 6 ขอนแก่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน - เริ่มเปิดดำเนินการ ปี พ.ศ. 2522 ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 - รัฐบาลญี่ปุ่นให้ความช่วยเหลือก่อสร้างอาคาร ติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และความช่วยเหลือทางวิชาการเป็นเงิน 156 ล้านบาท - พื้นที่ 37 ไร่ 8 ตารางวา
หนองคาย สกลฯ เลย หนองบัวลำภู อุดรฯ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ แผนที่พื้นที่เขตความรับผิดชอบ 7 จังหวัด
การบริหารงานแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาค 6 ขอนแก่น กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ และศักยภาพแรงงาน กลุ่มงานส่งเสริมและ ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน งานบริหารทั่วไป กลุ่มงานพัฒนาฝีมือ และศักยภาพแรงงาน - งานประสานการฝึก - งานช่างก่อสร้างและอุตสาหกรรมศิลป์ - งานธุรการและสารบรรณ - งานทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงานแห่งชาติ - งาน พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนา ฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 - งานช่างไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - งานพัสดุและอาคารสถานที่ - งานทดสอบฝีมือคน หางานเพื่อไปทำงาน ต่างประเทศ - งานการเงินและบัญชี - งานช่างยนต์ - งานแผนงานและประเมินผล - งานช่างเชื่อมและโลหะแผ่น - งานทดสอบฝีมือตาม ความต้องการของสถาน ประกอการ - งานช่างกลโรงงาน - งานธุรกิจและบริการ - งานแข่งขันฝีมือ แรงงานแห่งชาติ
อัตรากำลัง 85 อัตรา ระดับ 8 7 6 5 4 3 2 รวม 1 - - 1.ข้าราชการ 8 11 4 3 7 5 38 ครูฝึกฝีมือแรงงาน อื่นๆ 2. ลูกจ้างประจำ 21 26 47 รวมทั้งสิ้น 85 คน หมายเหตุ ช่วยราชการ(สพร.) 1 คน
ภารกิจ... • . ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • . ส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน • . ส่งเสริมและประสานงานภาคเอกชน • ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • ฝึกเตรียมเข้าทำงานภายใน • ฝึกเตรียมเข้าทำงานภายนอก • ฝึกยกระดับฝีมือ • ฝึกเพื่อเปลี่ยนงาน
ส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงานส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน • ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ • ทดสอบฝีมือคนหางานเพื่อไปทำงาน ในต่างประเทศ • ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานเฉพาะ • การแข่งขันฝีมือแรงงาน
ส่งเสริมและประสานงานภาคเอกชน ส่งเสริมและประสานงานภาคเอกชน ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน • การส่งเสริมและสนับสนุนภาคเอกชน เป็นผู้ดำเนินการฝึกอาชีพ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 • การฝึกร่วมกับภาคเอกชน • ส่งเสริมภาคเอกชนให้ฝึกอบรมลูกจ้างของตนโดยการยกเว้นภาษี • คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงาน การฝึกอาชีพจังหวัดขอนแก่น (กพร.ปจ. ขอนแก่น) • คณะกรรมการที่ปรึกษาการพัฒนาฝีมือแรงงาน จ.ขอนแก่น • เครือข่ายหน่วยงานความร่วมมือบูรณาการ เพื่อการพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงาน
แผนงานปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547) งานมาตรฐานฝีมือแรงงาน1,100 780 70.91 ผลผลิตที่ 1 การฝึกยกระดับฝีมือ3,650 2,613 71.59 ผลผลิตที่ 2 กิจกรรม เป้าหมาย (คน)ผล(คน) ร้อยละ ก. แผนงานฝึกอาชีพและฝีมือแรงงาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 1. ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ 1,100 757 68.82 2. ทดสอบฝีมือคนหางานเพื่อไปทำงานต่างประเทศ - 23 - 3. แข่งขันฝีมือแรงงานภาคฯ - 252 - 1. ฝึกยกระดับฝีมือ 3,650 2,613 71.59 ณ เมษายน 2547
แผนงานปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547) กิจกรรม เป้าหมาย (คน)ผลงาน (คน) ร้อยละ ผลผลิตที่ 3การให้บริการฝึกอาชีพสำหรับ เป็นผู้ประกอบการอิสระ 1,730 216 12.49 1. พัฒนาและสร้างผู้ประกอบการ Doctor Home Care240 - - 2. ผู้ประกอบการพัฒนาออกแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์ 50 12 24 3. โครงการอาหารว่างตามภูมิปัญญาท้องถิ่น 50 - - 4. ผู้ประกอบการออกแบบช่างเชื่อมไฟฟ้า / ช่างประกอบอะลูมิเนียม 50 - - 5. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ด้านสารสนเทศ 40 - - 6. สาขาช่างอื่น ๆ 1,300 204 15.69 ณ เมษายน 2547
แผนงานปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547) การฝึกเตรียมเข้าทำงาน1,050 740 70.48 ผลผลิตที่ 4 กิจกรรม เป้าหมาย (คน)ผล(คน) ร้อยละ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสังคมแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิต 1. ฝึกเตรียมเข้าทำงานในสถาบันฯ 700 423 60.43 2. ฝึกเตรียมเข้าทำงานนอกสถาบันฯ 275 317 45.45 3. ฝึกอาชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ 75 - - ณ เมษายน 2547
แผนงานปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547) กิจกรรมเป้าหมาย (คน)ผลงาน (คน) ร้อยละ ข. แผนงานป้องและแก้ไขปัญหาเอดส์ ผลผลิตที่ 5 การแก้ไขปัญหาเอดส์ 75 77 102.67 1. ฝึกเตรียมเข้าทำงาน 75 77 102.67 2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ 1, 000 11811.80 3. จัดนิทรรศการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคเอดส์ 2,000 2,812 140,60 ณ เมษายน 2547
แผนงานปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547) กิจกรรมเป้าหมาย (คน) ผลงาน(คน) ร้อยละ โครงการป้องกันการติดยา16 26 162.50 และสารเสพติด 1. ฝึกอาชีพผู้ผ่านการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพฯ 16 26 162.50 ( งบฯ ป.ป.ส. 18,900 บาท ) ณ เมษายน 2547
- ค่าสิ่งก่อสร้าง 4,939,400.00 4,939,400.00 1,072,602.00 3,126,398.00 740,400.00 21.72 งบประมาณ ปี 2547 หมวดรายจ่าย งบประมาณปี2547 ได้รับแล้ว จ่ายไปแล้ว ก่อหนี้ผูกพัน คงเหลือ ร้อยละ รวมทั้งสิ้น 24,206,870.00 24,206,870.00 13,765,121.27 5,454,338.72 12,663,498.86 ก. แผนงานพัฒนาอาชีพ และฝีมือแรงงาน 1. งานพัฒนาฝีมือแรงงาน 22,516,470.00 22,516,470.00 5,193,656.73 5,231,703.1112,091,110.16 23.10 1.1 งบดำเนินการ 15,852,070.00 15,852,070.00 3,651,654.73 2,023,305.1110,177,110.16 23.04 - ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ14,205,960.00 14,205,960.00 2,482,104.59 1,934,433.33 9,789,422.08 17.47 - ค่าสาธารณูปโภค 1,646,110.00 1,646,110.00 1,169,550.14 88,871.78 387,688.08 71.05 1.2 งบลงทุน 4,939,400.00 4,939,400.00 1,072,602.00 3,126,398.00 740,400.00 21.72 - ค่าครุภัณฑ์ - - - - - - ณ 30 เมษายน 2547
งบประมาณ ปี 2547 หมวดรายจ่าย งบประมาณปี 2547 ได้รับแล้ว จ่ายไปแล้ว ก่อหนี้ผูกพัน คงเหลือ ร้อยละ 1.3 งบเงินอุดหนุน 1,725,000.00 1,725,000.00 469,400.00 82,000.00 1,173,600.00 27.21 2. งานมาตรฐานฝีมือแรงงาน 1,420,000.00 1,420,000.00 801,859.17 190,521.58 427,619.25 56.47 2.1 งบดำเนินงาน 760,000.00 760,000.00 142,255.45 190,521.58 427,222.97 18.72 2.2 งบรายจ่ายอื่น ๆ 660,000.00 660,000.00 659,603.72 - 396.2899.94 ข. แผนงานป้องกันและแก้ไขเอดส์ 270,400.00 270,400.00 93,516.52 32,114.03 144,769.45 34.58 1. งบดำเนินงาน 270,400.00 270,400.00 93,516.52 32,114.03 144,769.45 34.58 ณ 30 เมษายน 2547
การซ่อมแซมปรับปรุงอาคาร สถาบันฯ ปีงบประมาณ รายการปรับปรุงซ่อมแซม งบประมาณ(บาท) 2544 ปรับปรุงซ่อมแซม 3 รายการ 1. ก่อสร้างบ้านพักระดับ 7-8 จำนวน 1 หลัง (ในบ้านพัก) 723,000.00 2. ปรับปรุงผิวจราจร คสล. ภายในสถาบันฯ 2,375 ต.ร.ม. 1,929,000.00 3. ปรับปรุงระบบไฟฟ้าโรงงานช่างกล ( CNC) 1,669,800.00 รวม 4,321,800.00
การซ่อมแซมปรับปรุงอาคาร สถาบันฯ ปีงบประมาณ รายการปรับปรุงซ่อมแซม งบประมาณ(บาท) 2545 ปรับปรุงซ่อมแซม 10 รายการ 1. โรงจอดรถ 224 ต.ร.ม. จำนวน 1 หลัง 2. ติดตั้งระบบไฟฟ้าภายใน 3. ติดตั้งวางท่อประปา 4. รั้วคอนกรีตบล๊อค 727 ม. (ในบ้านพัก) 5. รางระบายน้ำ 925 ม. (ในบ้านพัก) 6. ป้อมยามพื้นที่ใช้สอย 6ต.ร.ม. (ในศูนย์ฝึกช่างเครื่องกล) 7. เสาธงสูง 12 เมตร (ในศูนย์ฝึกช่างเครื่องกล) 8. ปรับปรุงอาคารอำนวยการ 1 หลัง 9. ติดตั้งระบบประปาภายใน (ในหอพักชาย) 10. ค่าปรับปรุงอาคารโรงฝึกงาน จำนวน 5 หลัง รวม 9,450,000.00
การซ่อมแซมปรับปรุงอาคาร สถาบันฯ ปีงบประมาณ รายการปรับปรุงซ่อมแซม งบประมาณ(บาท) 2546 ปรับปรุงซ่อมแซม 3 รายการ 1. ก่อสร้างอาคารห้องน้ำภายนอกนอกหอพักผู้เข้ารับการฝึกชาย 1 หลัง 2. ปรับปรุงอาคารหอพักชาย 3. ปรับปรุงบ้านพักข้าราชการ 18 หลัง (ในบ้านพัก) รวม 4,659,500.00 2547 ปรับปรุงซ่อมแซม 2 รายการ 1. ปรับปรุงอาคารพัสดุกลาง 2. ปรับปรุงโรงฝึกงาน จำนวน 3 หลัง รวม 4,199,000.00
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน 1. ภาคเอกชนยังมีส่วนร่วมน้อย ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2. ปัญหาการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน 3. อุปสรรคในการติดตามผลการมีงานทำของผู้สำเร็จการฝึก 4. ขาดแคลนวิทยากรที่มีความสามารถในการฝึกอาชีพ ในชนบท