180 likes | 308 Views
บทที่ 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์. ทรัพยากรมนุษย์ = คนมีค่าเป็นทรัพย์ ทรัพยากรการบริหาร = Man , Money , Material , Management Man = มีความสำคัญเป็นลำดับแรก.
E N D
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์ = คนมีค่าเป็นทรัพย์ ทรัพยากรการบริหาร = Man , Money , Material , Management Man = มีความสำคัญเป็นลำดับแรก • การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ( Human Resources Management ) เริ่มใช้เป็นครั้งแรกโดย เรมอนด์ อี ไมล์ส ( Remond E. Miles ) เพื่ออธิบายความแตกต่างระหว่าง...
แนวคิดมนุษย์สัมพันธ์ Vs การจัดการมนุษย์ ให้ความสำคัญกับสภาวะผู้นำ เน้นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรมนุษย์ ในการบริหารงาน ในองค์การ ทักษะ/ ความชำนาญ / ความรู้และความจงรักภักดี • ความหมายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการระบบความคิด นโยบายโครงการ การปฏิบัติและการจัดระบบสำหรับคนทำงานในองค์การ ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อองค์การมากที่สุด เพื่อให้การดำเนินงานขององค์การประสบความสำเร็จ
วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • เพื่อจัดหาคนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงาน • เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด • เพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด • เพื่อสื่อสารและสร้างความเข้าใจให้กับพนักงานทุกคน
สาเหตุที่ทำให้การบริหารงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมายขององค์การ • การจ้างคนไม่เหมาะกับงาน • อัตราการออกจากงานสูง • พนักงานไม่ตั้งใจที่จะทำงานให้ดีที่สุด • บริษัทถูกฟ้องเนื่องจากความไม่เป็นธรรมของผู้บริหาร • มีการกระทำไม่ยุติธรรมและความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดกับพนักงาน • ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแรงงาน • นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ความเป็นสากลของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • สภาพแรงงาน
ขอบข่ายภารกิจของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ขอบข่ายภารกิจของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • ขอบข่ายภารกิจเพื่อองค์การ • การริเริ่มและกำหนดนโยบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การให้คำแนะนำและให้คำปรึกษา • การให้บริการ • การควบคุม
ภารกิจที่เกี่ยวกับบุคคลในองค์การ ภารกิจที่เกี่ยวกับบุคคลในองค์การ • การเลือกสรรหา – บรรจุกำลังคน • วางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ • สรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ในจำนวนและคุณภาพที่องค์การ ต้องการ • เตรียมความพร้อมให้กับพนักงานที่สรรหามาใหม่ให้พร้อมที่จะ ทำงานกับองค์การ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การฝึกอมรบ เพื่อเพิ่มทักษะและปรับทัศนคติของพนักงาน • การพัฒนาองค์การ • การพัฒนาอาชีพ : ประสานให้ความต้องการของคนทำงานและของ หน่วยงานสัมพันธ์เกื้อต่อกัน
การส่งเสริมสนับสนุนการจูงใจผู้ปฏิบัติงาน การส่งเสริมสนับสนุนการจูงใจผู้ปฏิบัติงาน • การออกแบบรูปงานใหม่ที่เหมาะสม • การเสริมสร้างความสามัคคี • การเสริมสร้างความพึงพอใจในงาน • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • การให้ผลตอบแทน • การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของพนักงานทุกระดับ
การบำรุงและรักษาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพแก่องค์การ การบำรุงและรักษาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพแก่องค์การ • การกำหนดและให้ประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลากร • การเสริมสร้างความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน • การสร้างสภาพแวดล้อมที่มีสุขอนามัย • การเสริมสร้างการติดต่อสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์อันดี • หลักการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • หลักความเสมอภาค –งานเท่ากัน เงินเท่ากัน • หลักความสามารถ • หลักความมั่นคง
หลักความเป็นกลางทางการเมือง หลักความเป็นกลางทางการเมือง • หลักการพัฒนา • หลักความเหมาะสม • หลักความยุติธรรม • หลักการสวัสดิการ • หลักการเสริมสร้าง • หลักมนุษย์สัมพันธ์
โครงสร้างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ โครงสร้างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ
โครงสร้างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ โครงสร้างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ
โครงสร้างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ โครงสร้างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ
วิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย วิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย • วิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย • สมัยสุโขทัย :การปกครองในลักษณะพ่อปกครองลูก • สมัยกรุงศรีอยุธยาถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ • การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ • การจัดการปกครองส่วนกลางเป็นแบบจตุสดมภ์ –เวียง วัง คลัง นา • ส่วนภูมิภาค – หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก • สมัยปฏิรูปการบริหารราชการ รัชกาลที่ 5 ถึง รัชกาลที่ 6 • สมัย ร.5 ส่วนกลางแบ่งเป็นกระทรวงต่าง ๆ • ยกเลิกตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และสมุหกลาโหม • ส่วนภูมิภาคจัดหน่วยการปกครองเป็นมณฑล จังหวัด ตำบล หมู่บ้าน โดยมีข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งและรับเงินเดือนจากส่วนกลางไปบริหารงาน
สมัยรัชกาลที่ 7 ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ( ก่อน พ.ศ. 2475 ) • มี พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471 : ถือเป็น พ.ร.บ. ฉบับแรกเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของระบบราชการพลเรือนไทย • มีคณะกรรมการกลางดูแล • มีการจำแนกตำแหน่ง เป็นชั้นสัญญาบัตร และชั้นราชการบุรุษ • สมัยเริ่มเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 –2497 • มี พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2476 • เปลี่ยนชื่อคณะกรรมการกลางเป็นคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมีอำนาจหน้าที่ควบคุมการบริหารงานบุคคลของกระทรวงต่าง ๆ • มี พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2479 กระจายอำนาจการดำเนินงานทางการบริหารงานบุคคลให้กระทรวง ทบวง กรม • มี พ.ร.บ. พ.ศ. 2482 , พ.ศ. 2485 , พ.ศ. 2495 และ พ.ศ. 2497 • ยกเลิกตำแหน่งตามชั้นยศ อย่างทหาร เป็นกำหนดชั้นจัตวา ตรี โท เอก และพิเศษ
สมัยปรับระบบ พ.ศ. 2497 – 2518 • ระบบราชการมีปัญหาเรื่องเงินเดือน ความคล่องตัวในการทำงาน ปัญหาหาการเพิ่มแรงจูงใจ • ช่วงปลายนำแนวคิดการบริหารงานบุคคลแบบอเมริกัน มาแก้ไขและปรับปรุง • สมัยระบบจำแนกตำแหน่ง พ.ศ. 2518 – ปัจจุบัน • เปลี่ยนแปลงระบบกาจำแนกตำแหน่งในปี 2518 จากเดิม ที่เคยจัดเป็นชั้น จัตวา ตรี โท เอก พิเศษ มาเป็นระดับ 1 – 11 • ปี 2520 เป็นต้นมาผู้มีความรู้ความสามารถออกจากภาคราชการไปสู่ภาคเอกชนมากขึ้น • มีการปฏิรูประบบราชการให้มีการบริหารจัดการที่ทันสมัยยิ่งขึ้น • ปี 2552 ยกเลิกระบบระดับ 1 – 11 มาเป็นระบบแท่ง
วิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาคธุรกิจเอกชนวิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาคธุรกิจเอกชน • ระยะแรกยังเป็นลักษณะงานประจำแบบอนุรักษ์นิยม • พ.ศ. 2495 – 2496 รัฐบาลเริ่มสนใจปัญหาสังคมสงเคราะห์ในสถานประกอบการ • พ.ศ. 2499 ประกาศใช้พระราชบัญญัติแรงงานฉบับแรก • พ.ศ. 2500 – 2501 ประกาศยกเลิก ก.ม. แรงงานและสหภาพแรงงานเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง • พ.ศ. 2501 – 2510 รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ วิชาชีพการบริหารงานบุคคลก้าวหน้าขึ้นเนื่องจากชาวต่างประเทศเข้ามาลงทุน • พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติและประกาศกระทรวงมหาดไทยเปิดโอกาสให้มีการจัดตั้งสมาคมลูกจ้าง • พ.ศ. 2518 มีพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ • พ.ศ. 2522 มีพระราชบัญญัติการจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน • พ.ศ. 2534 มีพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ ฉบับที่ 2
ทิศทางและบทบาทของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 • ปัจจัยที่ทำให้การจัดการทรัพยากรมนุษย์เปลี่ยนแปลง • กระแสโลกาภิวัฒน์ ( Globalization ) • เทคโนโลยี ( Technology ) • พื้นฐานความรู้ของแรงงาน ( Knowledge – based workforce ) • ทุนมนุษย์ ( Intellectual Capital ) • การลดวิธีการทำงานลง ( Redefining Trim Performance ) • ทิศทางและบทบาทการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • ลักษณะของกิจกรรม / งานด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ แยกเป็น 3 ระดับ • ระดับกลยุทธ์ • ระดับบริการ • ระดับธุรการงานบุคคล
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล • มาตรฐานสากลSA 8000 ( Social Accountability ) • มาตรฐานการจ้างงานที่ต้องการรับผิดชอบต่อสังคม • การจ้างแรงงานเด็ก ห้ามจ้างเด็กต่ำกว่า 15 ปี • การไม่ใช้แรงงานที่ไม่สมัครใจ • การให้ความสำคัญต่อความปลอดภัย • เสรีภาพในการคบหาสมาคม และสิทธิในการเจรจาต่อรอง • การไม่เลือกปฏิบัติต่อเชื้อชาติ เพศ อายุ ผิว ศาสนา ลัทธิการเมือง • มีมาตรการทางวินัย เคารพศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์ • จำนวน ชม. การทำงานต้องไม่เกิน 48 ชม. / สัปดาห์ • จ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง และสวัสดิการตามที่กฎหมายกำหนด • มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงาน การกำหนดนโยบายควบคุมดูแลให้ระบบจัดการแรงงานมีความยั่งยืน ยุติธรรม และสันติสุข