1 / 46

“ อีสาน – ลาว – ขแมร์ศึกษา ในกรอบประชาคมอาเซียน ”

“ อีสาน – ลาว – ขแมร์ศึกษา ในกรอบประชาคมอาเซียน ”. Issan – Laos- Khmer Studies in ASEAN Community. โดย นางสาวมะลิวัลย์ สินน้อย บรรณารักษ์ชำนาญการพิเศษ. ASEAN Neighbors. ประเทศสมาชิกอาเซียนมี 10 ประเทศ. 1.บูรไน ดารุสซาลาม ( Brunei Darussalam) 2. กัมพูชา ( Cambodia)

keahi
Download Presentation

“ อีสาน – ลาว – ขแมร์ศึกษา ในกรอบประชาคมอาเซียน ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “อีสาน – ลาว – ขแมร์ศึกษาในกรอบประชาคมอาเซียน” Issan – Laos- Khmer Studies in ASEAN Community โดย นางสาวมะลิวัลย์ สินน้อย บรรณารักษ์ชำนาญการพิเศษ

  2. ASEAN Neighbors

  3. ประเทศสมาชิกอาเซียนมี 10 ประเทศ • 1.บูรไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) • 2. กัมพูชา (Cambodia) • 3.อินโดนีเซีย (Indonesia) • 4. ลาว (Laos) • 5. มาเลเซีย (Malaysia)

  4. ประเทศสมาชิกอาเซียนมี 10 ประเทศ (ต่อ) • 6.สหภาพพม่า (Union of Myanmar) • 7. ฟิลิปปินส์ (Philippines) • 8. สิงคโปร์ (Singapore) • 9. เวียดนาม (Vietnam) • 10. ประเทศไทย (Thailand)

  5. สัญลักษณ์ • “ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้” • หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน โดยสีที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่สำคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน

  6. ธงอาเชียน

  7. หนังสือที่น่าสนใจ • 1) การจัดการของชุมชนและการปรับตัวของแรงงานข้ามชาติบนพื่นที่ชายแดนไทย – ลาว จังหวัดมุกดาหาร • 2) พระครูโพนสะเม็กกับชุมชนสองฝั่งแม่น้ำโขง ระหว่าง ค.ศ. 1713-2013 • 3) พัฒนาการการพัฒนาอีสานและลุ่มน้ำโขง • 4) เปิดประตูสู่กลุ่มประเทศอินโดจีน และจีนตอนใต้ด้านสภาพเศรษฐกิจพื้นฐานทั่วไปของชายแดนไทย – ลาว เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • 5) สรุปบันทึกการเดินทางในลาว

  8. หนังสือที่น่าสนใจ (ต่อ) • 6) พระสงฆ์กับรัฐไทย : พระธรรมยุตสายอีสานกับการปฏิรูปหัวเมืองอีสาน • 7) มายาคติและข้อสงสัยในการยกเลิกราชการส่วนภูมิภาค – ยกเลิกการบริหารราชการส่วนภูมิภาค • 8) ขบวนการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่ทองคำ • 9) อนุภูมิภาคลุ่มล้ำโขง ภายใต้กระแสการเปลี่ยนผ่าน : จากผืนนา ป่าใช้สอย และไร่หมุนเวียน สู่สวนยาง : กรณีศึกษาเขตปกครองตนเอง สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน • 10) ศัตรูประชาชนกับการปลดปล่อยเพื่อแสวงหาคำตอบในสายลม

  9. หนังสือที่น่าสนใจ (ต่อ) • 11) ฟ้าต่ำแผ่นดินสูง : เมื่อเขตแดนแยกมนุษย์ออกจากความเป็นชาติ • 12) “ ส่วยและกูย” ความหลากหลายในการนิยามตัวตน • 13) ชาติพันธุ์สัมพันธ์ : อัตลักษณ์และพื้นที่ทางสังคมของกลุ่มชาติพันธ์ไทในลุ่มน้ำพาว เมืองคำเกิด แขวงบอลิคำไซ สปป. ลาว • 14) วิถึชีวิต แรงงานข้ามชาติลาว ในภาคอุตสาหกรรม • 15) มูลค่า เศรษฐกิจนอกระบบ ในตลาดชาวบ้านของไทย ลาว และกัมพูชา

  10. หนังสือที่น่าสนใจ (ต่อ) • 16) พระครูขี้หอม “พระผู้สร้างและผู้ถูกสร้าง” แห่งอาณาจักรลาวใต้ • 17) พระ – หมอ – ครู : เขตแดนและภูมิปัญญาชาติพันธ์ที่มีความหมายสำหรับประเทศไทยและกัมพูชา • 18) กูย กวย กลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิม แห่งเทือกเขาพนมดองแร็ก • 19) อคติและความรุนแรงของลุ่มน้ำโขง ต่อความหลากหลายทางชาติพันธ์ • 20) ชีวิตผู้ค้าริมทางกับเศรษฐกิจนอกระบบ • 21) อาเซียนศึกษา

  11. มรดกโลกอาเซียน(Asean World Heritage)

  12. มรดกโลกอาเซียน ประเทศไทย • 1. แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง

  13. 2.ผืนป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่

  14. 3.นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา3.นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

  15. 4.เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัย และเมืองบริวาร

  16. 5. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและห้วยขาแข้ง

  17. ประเทศลาว • 1.เมืองหลวงพระบาง

  18. 2. ปราสาทวัดพูและภูมิทัศน์วัฒนธรรมในแขวงจำปาสัก

  19. ประเทศเวียดนาม 1.พระราชวังจักรพรรดิเมืองทังลอง ฮานอย

  20. 2.ป้อมปราการแห่งราชวงศ์โฮ2.ป้อมปราการแห่งราชวงศ์โฮ

  21. 3.โบราณสถานแห่งเมืองเว้3.โบราณสถานแห่งเมืองเว้

  22. 4.อ่าวฮาลอง

  23. 5.เมืองโบราณฮอยอัน

  24. 6.สถานที่ศักดิสิทธิ์หมีเซิน6.สถานที่ศักดิสิทธิ์หมีเซิน

  25. 7.อุทยานแห่งชาติฟอง ญา-เก บัง

  26. ประเทศกัมพูชา 1.อังกอร์ (นครวัด นครธม และปราสาทบาย)

  27. 2.ปราสาทพระวิหาร

  28. ประเทศฟิลิปปิส์ 1.โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์

  29. 2.นครประวัติศาสตร์วีกัน แห่งฟิลิปปินส์

  30. 3. อุทยานแห่งชาติธารน้ำใต้ดิน ปวยร์โต - ปรินเซซา

  31. 4. นาข้าวแบบขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์คอร์ดิเลรา

  32. 5.อุทยานปะการังแห่งชาติทุบบาตาฮา5.อุทยานปะการังแห่งชาติทุบบาตาฮา

  33. 1.อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลู1.อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลู ประเทศมาเลเซีย

  34. 2.อุทยานคินาบาลู

  35. 3. มะละกาและจอร์จทาวน์ เมืองประวิติศาสตร์แห่งช่องแคบมะละกา

  36. 4.แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกอง4.แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกอง

  37. ประเทศอินโดนีเซีย 1.อุทยานแห่งชาติโคโมโด

  38. 2. อุทยานแห่งชาติลอเรนซ์

  39. 3.กลุ่มศาสนสถานปรัมบานัน3.กลุ่มศาสนสถานปรัมบานัน

  40. 4.แห่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซังงีรัน4.แห่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซังงีรัน

  41. 5.ป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา5.ป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา

  42. 6.อุทยานแห่งชาติอูจูงกูลอน6.อุทยานแห่งชาติอูจูงกูลอน

  43. 7. ศาสนสถานบุโรพุทโธ

  44. 8. ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเขตบาหลี : การจัดการน้ำระบบสุบักตามหลักปรัชญาไตรหิตกรณะ

  45. ประเทศที่มีพื้นที่ที่เป็นมรดกโลกมีเพียง 7 ประเทศ • บรูไน พม่า สิงคโปร์ ไม่มีพื้นที่ที่ถูกประกาศให้เป็นมรดกโลกทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมแต่อย่างใด

  46. ขอบคุณคะ

More Related