1 / 36

สรุปกิจกรรมการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหาร

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. สรุปกิจกรรมการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหาร. โดย กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข 18 พฤษภาคม 2553. ภาพสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์. ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ สาขาแยกหนองบัวรอง. ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ สาขาข้างธนาคารเกียรตินาคิน. ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ (ใกล้บุ่งตาหลัว).

keagan
Download Presentation

สรุปกิจกรรมการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สรุปกิจกรรมการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหาร โดย กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข 18 พฤษภาคม 2553

  2. ภาพสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ภาพสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์

  3. ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ สาขาแยกหนองบัวรอง

  4. ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ สาขาข้างธนาคารเกียรตินาคิน

  5. ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ (ใกล้บุ่งตาหลัว)

  6. ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์

  7. ภาพน้ำผลไม้อินทรา

  8. เอกสารประชาสัมพันธ์

  9. ส่วนผสมสำคัญในน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพอินทรา 23 ชนิด • พิพซิลเซว่า (Pipsisewa) (Chimaphila umbellata) เป็นยาระบายอ่อน ๆ ช่วยให้ ระบบขับถ่ายมีประสิทธิภาพ • ไทม์ (Thyme) (Thymus vulgaris) ถูกนำมาใช้เพื่อช่วยในกระบวน การย่อยอาหารและควบคุมอาการ ย่อยอาหารให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม • รากชิโคริ (Chicory) (Cichorium intybus) มีสารออกฤทธิ์ที่เรียกว่า อินูลิน ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวทำ ความสะอาดลำไส้ ช่วยในการ ขับสารพิษและกำจัดของเสีย ออกจากร่างกาย • เมล็ดบาร์เลย์ (Chinese Pearl Barley) (Coix lacrymajobi) มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด และสามารถลดระดับ คลอเลสเตอรอลได้ • เลม่อน บาล์ม (Lemon Balm) (Lemon Balm) มีสรรพคุณช่วยในการนอนหลับ ระงับภาวะอารมณ์หงุดหงิด ปรับ ระดับความดันโลหิต เสริมสร้าง ระบบความจำและการทำงาน ของต่อมไทรอยด์ • ฟีนูกรีก (Fenugreek Seed) (Trigonella doenumgraecum) เมื่อบริโภคพร้อมอาหารจะช่วยลด ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยที่เป็น โรคเบาหวาน และมีส่วนช่วยในการลด ระดับคลอเลสเตอรอลเช่นกัน

  10. ส่วนผสมสำคัญในน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพอินทรา 23 ชนิด • เกสรผึ้ง (Bee Pollen) (Apis pollenus) อุดมไปด้วยสารอาหารต่าง ๆ เช่น วิตามิน แร่ธาตุโปรตีน และกรดอะมิโนหลายชนิด เป็นแหล่งโภชนาการชั้นเยี่ยม และฟื้นฟูพละกำลังจากการ ออกกำลังกาย • ขิง (Zingiber officinale) มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ ช่วยให้การปั่นป่วนในท้องหายไปและ ลดอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากการ เคลื่อนไหว • ว่านหางจระเข้ (Aloe Vera) (Aloe barbadensis) มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยในระบบย่อยอาหาร และ ส่งผลให้ร่างกายกำจัดของเสีย ได้ดี นอกจากนี้ ยังช่วยรักษา แผลไฟไหม้ได้ดีอีกด้วย • คื่นฉ่าย (Celery Seed) (Apium graveolens) ช่วยในระบบการย่อยอาหารและ กำจัดของเสียออกจากร่างกาย และยังมี คุณสมบัติในการล้างสารพิษ ทำความสะอาดระบบภายในร่างกาย • พริก (Capsicum Fruit) (Capsicum species) อุดมไปด้วยวิตามิน ใช้สำหรับ กระตุ้นขบวนการเผาผลาญพลังงาน โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า เธอร์โมเจเนซิล ช่วยให้ร่างกาย เผาผลาญไขมันภายในร่างกาย และส่งเสริมการทำงานของ สมุนไพรชนิดอื่น ๆ

  11. ส่วนผสมสำคัญในน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพอินทรา 23 ชนิด • ซาร์ชาพาริลล่า (Sarsaparilla) (Smilax officinalis) มีคุณสมบัติในการสร้างสมดุล ให้กับฮอร์โมนและ ช่วยเพิ่มความกระฉับกระเฉงให้ กับร่างกาย นอกจากนี้ยังมีประ โยชน์มาก สำหรับคนที่มีปัญหากามตายด้าน • ผลชิลแซนดร้า (Schisandra Berry) (Schisandra chinensis) ให้สารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง สารต่อต้าน อนุมูลอิสระนี้ จะเสริม สร้างเซลล์ในร่างกายให้แข็งแรง   • โสมไซบีเรีย (Siberian Ginseng) (Eleutherococcus senticosus) เสริมสร้างระบบภูมิต้านทานโรค มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยปรับระดับน้ำตาลในเลือด เป็นสารบำรุงร่างกาย ปรับตัวต่อสภาวะ ความเครียดและเสริมสร้างพัฒนาการแห่งวัย • รากแอสทราการัส (Astragalus Root) (Astragalus membranaceus) ช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันโรค ปกป้องการทำงานของระบบเส้นเลือด ภายในกล้ามเนื้อหัวใจ และยังมีประสิทธิผลในการเสริมสร้างฮอร์โมนเพศชายอีกด้วย •  คาโมมายล์ เยอรมัน (German Chamomile) (Chamomilla recutita) มีถิ่นกำเนิดในแถบยุโรป ช่วยให้ระบบประสาทผ่อนคลาย เสริมสร้างกล้ามเนื้อหัวใจ และช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  12. ส่วนผสมสำคัญในน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพอินทรา 23 ชนิด • รากแดนดิไลออน (Dandelion Root) (Taraxacum officinale) ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ของระบบย่อยอาหารมีส่วนช่วยในการ ผลิตน้ำดีและช่วยในการขับถ่ายของเสีย • เปลือกคาสคาร่า (Cascara Bark) (Rhamnus purshiana) ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง เมื่อบริโภคร่วมกับสารสกัดจากผลพริก จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัด ของเสียออกจากร่างกาย • รากชะเอม (Licorice Root) (Glycyrrhiza species) ช่วยเสริมระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายและมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ชาวจีน ใช้เป็นสมุนไพรมานานกว่าพันปี ปัจจุบันถูกนำมาใช้ในการเสริมสร้างกล้าม เนื้อหัวใจ • ผลจูนิเปอร์ (Juniper Berries) (Juniperus communis) ช่วยในกระบวนการย่อยอาหาร และกระตุ้นการทำงานของกระเพาะอาหาร ซึ่งช่วยลดแก๊สและอาการท้องอืด • ผลกุหลาบจีน (Rose Hips) (Rosa species) ชาวจีนยกให้เป็นสายพันนธุ์ที่มีค่าที่สุด ซึ่งเป็นแหล่งสะสมของวิตามินซี • ถั่วอัลฟัลฟ่า (Alfalfa Herb) (Medicago sativa) อุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุฟลาโวนอยด์ กรดอะมิโน และโปรตีน เป็นแหล่งเอสโตเจนของพืช ช่วยในการสร้างสมดุลของระดับฮอร์โมนเพศหญิง

  13. การแจ้งรายละเอียดการโฆษณาการแจ้งรายละเอียดการโฆษณา

  14. การดำเนินการเตรียมสำหรับการขออนุญาตโฆษณา- โฆษณาอาหาร * ฆอ.1- โฆษณายา * ฆย.1- โฆษณาเครื่องมือแพทย์ * ฆพ.1

  15. ข้อกำหนดทางกฎหมาย

  16. ข้อห้ามในการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารข้อห้ามในการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหาร • โอ้อวดสรรพคุณทางยา – เป็นเท็จ – เกินจริง • แสดงสรรพคุณว่าเป็น ยาทำแท้ง บำรุงกาม คุมกำเนิด • ยกย่องเป็นสรรพคุณยาโดยบุคคลอื่น • บำบัด บรรเทา รักษาโรค เช่น เบาหวาน ความดัน มะเร็ง

  17. บทลงโทษ • ในกรณีที่มีการโฆษณาอาหารฝ่าฝืนกฎหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีอำนาจสั่งให้ระงับการโฆษณา และสามารถชี้แจงข้อเท็จจริงภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสือ • ลักษณะการโฆษณาอาหารที่ฝ่าฝืนกฎหมาย * โฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ สรรพคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือแตกต่างไปจากที่ได้รับอนุญาต * โฆษณาในลักษณะโอ้อวด เป็นเท็จ เกินจริง หรือหลอกลวงให้หลงเชื่อ โดยไม่สมควรทำให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดในสาระสำคัญของอาหาร • บทลงโทษมีดังนี้ * โฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต/ไม่ตรงตามที่ได้รับอนุญาต ปรับไม่เกิน 5,000 บาท * ฝ่าฝืนคำสั่งระงับการโฆษณา - จำคุกไม่เกิน 2 ปี/ปรับไม่เกิน 20,000 บาท/ปรับรายวัน วันละไม่น้อยกว่า 500 บาท แต่ไม่เกิน 1,000 บาท ตลอดระยะเวลาที่มีการฝ่าฝืน * โฆษณาสรรพคุณในลักษณะเป็นเท็จเกินจริง/ทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญ - จำคุกไม่เกิน 3 ปี/ปรับไม่เกิน 30,000 บาท

  18. ผลการดำเนินคดีจ.นครราชสีมาผลการดำเนินคดีจ.นครราชสีมา

  19. ผลการดำเนินคดีผู้ฝ่าฝืนกฎหมายผลิตภัณฑ์สุขภาพฉบับที่ ๑/๒๕๕๓ เดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ตามที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ได้ดำเนินการกับผู้กระทำการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ในลักษณะความผิดต่าง ๆ กันนั้นปรากฏผลคดีดังนี้ ความผิดฐานโฆษณาสรรพคุณอาหารโดยไม่ได้รับอนุญาต 1. นายชวินโรจน์ ธนาศิริจิรสิน หัวหน้าสถานีวิทยุคลื่น 103.75 MHz ประกอบกิจการสถานีวิทยุชุมชนตั้งอยู่เลขที่ ๒๐๐ หมู่ ๖ บ้านมาบเอื้อง ตำบลสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื่องจากได้ลงข้อความเสียงโฆษณาสรรพคุณ ผลิตภัณฑ์อาหาร “น้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ ตรา อินทรา” ทางสถานีวิทยุคลื่น 103.75 MHz เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. โดยข้อความเสียง ที่ใช้ในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวยังไม่ได้รับอนุญาตให้โฆษณาจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ผลคดี เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓

  20. ผลการดำเนินคดีผู้ฝ่าฝืนกฎหมายผลิตภัณฑ์สุขภาพฉบับที่ ๑/๒๕๕๓ เดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ 2. นางสาวอภิญญา ศุภวรกิจ หัวหน้าสถานีวิทยุคลื่น 105.75 MHz ประกอบกิจการสถานีวิทยุชุมชนตั้งอยู่เลขที่ ๖๗/๑ ถนนปักธงชัย ซอย ๑/๑ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื่องจากได้ลงข้อความเสียงโฆษณาสรรพคุณ ผลิตภัณฑ์อาหาร “น้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ ตรา อินทรา” ทางสถานีวิทยุคลื่น 105.75 MHz เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ เวลาประมาณ ๒๒.๒๐ น. โดยข้อความเสียง ที่ใช้ในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวยังไม่ได้รับอนุญาตให้โฆษณาจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา • ผลคดี เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓

  21. กิจกรรม 13 มีนาคม 2552 รับเรื่องร้องเรียนการโฆษณาเรื่องน้ำผลไม้โดยไม่ได้รับอนุญาต 23 มีนาคม 2552 ทำหนังสือสอบถามไปยังอย. 26 มิถุนายน 2552 บรรยายวิชาการเรื่องการขออนุญาตโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้กับนาย สถานีวิทยุเครือข่ายสาธารณสุข จำนวน 40 คน 16 กรกฎาคม 2552 ทำหนังสือแจ้งเตือนการโฆษณายา อาหาร เครื่องสำอาง ทางสื่อวิทยุ พร้อมแนบเกณฑ์การพิจารณาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ 13 สิงหาคม 2552 จัดประชุมชี้แจงสื่อวิทยุชุมชนทุกแห่งประมาณ 100 คน ตุลาคม 2552 สุ่มบันทึกและถอดเทปการเปิดโฆษณาอาหาร กุมภาพันธ์ 2552 ดำเนินคดีกับสถานีวิทยุชุมชนที่พบการกระทำความผิด

  22. งานประชุม “โครงการพัฒนาระบบการโฆษณา และการเฝ้าระวัง” 13 สิงหาคม 2552

More Related