1.23k likes | 13.12k Views
พยัญชนะในภาษาบาลี มี ๓๓ ตัว ดังนี้. ตารางพยัญชนะวรรค. เศษวรรค ๘ ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ í ( อัง ). พยัญชนะในภาษาสันสกฤต มี ๓๕ ตัว ดังนี้. ตารางพยัญชนะวรรค. เศษวรรค ๑๐ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ í ( อัม ). พยัญชนะในภาษาไทย มี ๔๔ ตัว ดังนี้. ตารางพยัญชนะวรรค.
E N D
พยัญชนะในภาษาบาลีมี ๓๓ ตัว ดังนี้ ตารางพยัญชนะวรรค เศษวรรค ๘ ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ í ( อัง )
พยัญชนะในภาษาสันสกฤตมี ๓๕ ตัว ดังนี้ ตารางพยัญชนะวรรค เศษวรรค ๑๐ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ í ( อัม )
พยัญชนะในภาษาไทยมี ๔๔ ตัว ดังนี้ ตารางพยัญชนะวรรค เศษวรรค ๑๑ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อฮ
พยัญชนะไทย แบ่งตามที่มา ๓ ชนิด คือ • พยัญชนะกลาง คือพยัญชนะที่ใช้ได้ทั้งในภาษาไทย บาลี และสันสฤต มี ๒๑ ตัว ได้แก่ ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห • พยัญชนะเดิม คือ พยัญชนะที่ใช้เฉพาะในภาษาบาลีและ สันสกฤต มี ๑๓ ตัว ได้แก่ ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ • พยัญชนะเติม คือ พยัญชนะที่คนไทยคิดเพิ่มเติมขึ้นมาใช้ มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ ( ปัจจุบันเลิกใช้แล้วคือ ฃ ฅ )
พยัญชนะในภาษาไทย๔๔ ตัวแบ่งเป็น อักษร ๓ หมู่ ดังนี้ ไตรยางศ์ เศษวรรค ๑๑ ตัว คือ ย ร ล วศ ษ ส หฬ อ ฮ
อักษรคู่ คือ อักษรต่ำที่มีเสียงคู่หรือใกล้เคียงกันกับอักษรสูง มี ๗ แถวดังนี้ อักษรคู่
เสียงพยัญชนะ เสียงและรูปพยัญชนะ ๑. พยัญชนะเดี่ยว มีทั้งหมด ๔๔ ตัว แต่มีเสียงเพียง ๒๑ เสียง
๒. พยัญชนะประสม ๒.๑ อักษรควบ คือพยัญชนะควบกับ ร ล ว และประสมสระเดียวกัน แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ (๑) อักษรควบกล้ำแท้ มี ๑๑ เสียง คือ /กร/ , /คร/(ขร) , /ปร/ , /พร/ , /ตร/ /กล/ , /คล/(ขล) , /ปล/ , /พล/(ผล) /กว/ , /คว/(ขว) พยัญชนะ ป และ พ ควบได้กับ ร , ล ส่วน พยัญชนะ ต ควบได้กับ ร เท่านั้น
เนื่องจากสื่อสารไร้พรมแดนมีคำควบกล้ำที่ไทยรับมาจากภาษาอังกฤษมี ๕ เสียง คือ /ดร/ : ดรัมเมเยอร์ ดราฟท์ /ฟร/ : ฟรี /ฟล/ : แฟลกซ์ , แฟลต /บร/: บรูไน , เบรก , บริดจ์ , บรั่นดี /บล / : บล็อก ,
(๒) อักษรควบกล้ำไม่แท้ มี ๒ ลักษณะ คือ ๑. ไม่ออกเสียง “ร” แม้มี “ร” ควบอยู่ก็ตาม เช่น จริง สร้าง ศรี ไซร้ สระ • ตัว “ทร” อ่านออกเสียงเป็น “ซ” เช่น บทช่วยจำ ทรวดทรง ทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอินทรี มัทรีอินทรีย์มี เทริดนนทรีพุทราเทรา ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด โทรมมนัสฉะเชิงเทรา ตัว “ทร” เหล่านี้เรา ออกสำเนียงเป็นเสียง “ซ” ยกเว้น “ทร” ที่ออกเสียงตามเขียน ได้แก่ อินทรา ภัทรา จันทรา
๒.๒ อักษรนำ มีลักษณะ ๒ ประการ คือ • ออกเสียง ๑ พยางค์ เมื่อ “ ห” นำอักษรต่ำเดี่ยว หรือ “อ” นำ “ย” เช่น หงอก หญิง ใหญ่ หยาบ เหยียด หนอน หนาม หนิง ไหน ไหล อย่า อยู่ อย่าง อยาก • ออกเสียง ๒ พยางค์เมื่ออักษรสูงหรืออักษรกลางนำหน้าอักษรต่ำเดี่ยว โดยใช้สระตัวเดียวกัน เวลาออกเสียงจะมีเสียง “อะ” ที่พยางค์หน้า ส่วนพยางค์หลังออกเสียง “ ห” นำ เช่น ฉลาด ถนน ตลาด ผวา สมุย ยกเว้น คำต่อไปนี้ มิใช่อักษรนำ แต่อ่านเหมือนอักษรนำ เช่น สิริ บัญญัติ ศักราช ยุโรป กำเนิด * อักษรควบกล้ำไม่แท้นี้ในทางภาษาศาสตร์ไม่ถือว่าเป็นพยัญชนะควบกล้ำเพราะไม่ได้ออกเสียงพยัญชนะทั้ง ๒ ตัว
มาตราแม่ ก กา มี ๙ แม่ ดังนี้ ๑. แม่ ก กา คือ มีรูปสระทั้งสระยาวและสระสั้น เช่น มาดี มะลิ ทะลุ เป็นต้น มาตราแม่ ก กา
เสียงในภาษา เสียงในภาษา มี ๓ ชนิด คือ • เสียงสระ ( เสียงแท้ ) มี ๒๑ รูป ๒๔ เสียง • เสียงพยัญชนะ ( เสียงแปร ) มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง • เสียงวรรณยุกต์ ( เสียงดนตรี ) มี ๔ รูป ๕ เสียง (* เสียงวรรณยุกต์ มีเฉพาะเสียงใน ภาษาไทยและภาษาจีน เท่านั้น )
สระในภาษาไทย รูปสระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป • ะ = วิสรรชนีย์ • าิํั่็ = ลากข้าง • ิ = พินทุอิ • ํ = หยาดน้ำค้าง, นิคหิต (นฤคหิต ) • ั = ไม้หันอากาศ , ไม้ผัด • ่ = ฝนทอง • ” = ฟันหนู
รูปสระในภาษาไทย ( ต่อ ) • ฤ = ตัวรึ • ฤาู = ตัวรือ • ๑๗. ฦ = ตัวลึ • ๑๘. ฦา = ตัวลือ • อ = ตัวออ • ย = ตัวยอ • ว = ตัววอ ๘. ็ = ไม้ไต่คู้ ๙. ุ = ตีนเหยียด ๑๐. ู = ตีนคู้ ๑๑. เ = ไม้หน้า ๑๒. ใ = ไม้ม้วน ๑๓. ไ = ไม้มลาย • โ = ไม้โอ
เสียงสระในภาษาไทย เสียงสระ รูปสระ ๒๑ รูป ๒๔ เสียง แยกเป็นดังนี้ ๑. สระแท้ฐานเดียว ๘ เสียง
เสียงสระในภาษาไทย ๒. สระแท้สองฐาน ๑๐ เสียง
เสียงสระในภาษาไทย ๓. สระประสมหรือสระเลื่อน ๖ เสียง
สระเกิน สระเกิน มี ๘ เสียง ( ปัจจุบันไม่นับรวม ) • อำ แทนเสียงด้วย อะ + ม • ไอ แทนเสียงด้วย อะ + ย • ใอ แทนเสียงด้วย อะ + ย • เอา แทนเสียงด้วย อะ + ว • ฤ แทนเสียงด้วย รึ • ฤา แทนเสียงด้วย รื • ฦ แทนเสียงด้วย ลึ • ฦา แทนเสียงด้วย ลื
มารู้จัก คำเป็น , คำตาย กันเถอะ
รู้จัก คำครุ , คำลหุ หรือยัง
คำเป็นคำตาย • มนุษย์มีภาษามีเผ่าพันธุ์ มีสูงต่ำชนชั้นจิตนิสัย มีร่ำรวยยากจนคละคล่ำไป อันดีชั่วคือใจควรไตร่ตรอง
คำครุ , ลหุ • มนุษย์มีภาษามีเผ่าพันธุ์ มีสูงต่ำชนชั้นจิตนิสัย มีร่ำรวยยากจนคละคล่ำไป อันดีชั่วคือใจควรไตร่ตรอง ุ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ ÑÑ Ñ Ñ ุ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ ุ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ ÑÑ ÑÑ Ñ Ñ Ñ