1 / 40

สวัสดี

สวัสดี. อาจารย์ที่ปรึกษาชมรม นายกสโมสรนักศึกษา คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา ประธานชมรมฯ ผู้ประสงค์ให้งานกิจกรรมนักศึกษามีคุณภาพ. งานกิจกรรมนักศึกษา กับการประกันคุณภาพการศึกษา. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย สิทธิกรณ์. ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.

Download Presentation

สวัสดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สวัสดี • อาจารย์ที่ปรึกษาชมรม • นายกสโมสรนักศึกษา • คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา • ประธานชมรมฯ • ผู้ประสงค์ให้งานกิจกรรมนักศึกษามีคุณภาพ

  2. งานกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษางานกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย สิทธิกรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ Office: 02-807-4500 ext.347 Mobile: 081-925-6155

  3. ต้องมีคุณภาพ เพราะ ... ระบบการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพของสถาบัน จะสร้างความมั่นใจ ให้แก่ผู้ปกครอง และชุมชน ว่า บุตรหลานของเขา จะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค ตามมาตรฐานคุณภาพที่กำหนด

  4. กิจกรรมนักศึกษา 3 เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพ • กิจกรรมการบริหารจัดการ • กิจกรรมการเรียนการสอน • กิจกรรมพัฒนานักศึกษา

  5. “รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับเยาวชน“รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับเยาวชน โดยเฉพาะนักเรียนนักศึกษา ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงจำเป็น ต้องมีการสร้างเสริมประสบการณ์ ให้รู้จักตนเอง โลกของอาชีพ การตั้งเป้าหมาย และเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพให้ตรงกับความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และบุคลิกภาพของแต่ละบุคคล” นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อธิการบดี ต้องมีการสร้างเสริมประสบการณ์

  6. 3 ประเด็นชวนคุยกับการประกันคุณภาพ กิจกรรมนักศึกษา • หลักการและนโยบายการประกันคุณภาพ • ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพ • การประกันคุณภาพ สำหรับงานกิจกรรมนักศึกษา

  7. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 47 “ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับประกอบด้วยการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ”

  8. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 48 “ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ”

  9. สรุปการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษาสรุปการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา • ต้องมีการประกันคุณภาพภายใน-ภายนอก • ต้องมีการประกันคุณภาพทุกกิจกรรมที่ดำเนินการในมหาวิทยาลัย • ต้องมีการรายงานผลการดำเนินงาน และเปิดเผยต่อสาธารณชน เป็นประจำทุกปี

  10. นโยบายการประกันคุณภาพ ระดับอุดมศึกษา • ให้สถาบันมีเสรีภาพทางวิชาการ (Academic Freedom) • ให้สถาบันมีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน(Institutional Autonomy) • ให้การตรวจสอบสถาบันเป็นไปตามความพร้อมของแต่ละสถาบันตามหลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability)

  11. ระบบการประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ(Quality Control) หมายถึง การจัดให้มีระบบและกลไกในการควบคุมคุณภาพภายในขององค์ประกอบต่าง ๆ ในอันที่จะส่งผลต่อคุณภาพของบัณฑิตและผลงานด้านต่าง ๆ ซึ่งต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบ ภายใต้หลักการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม การตรวจสอบคุณภาพ(QualityAudit) หมายถึง การตรวจสอบการดำเนินงานของระบบและกลไกควบคุมคุณภาพภายในที่กำหนดไว้ เพื่อพิจารณาว่า กลไกการควบคุมคุณภาพ ยังคงดำเนินการอย่างต่อเนื่องและได้ใช้ระบบพัฒนาขึ้นอย่างสม่ำเสมอ มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ทำให้เชื่อได้ว่า จะเกิดผลงานที่มีคุณภาพตามดัชนีและตัวชี้วัดที่กำหนด

  12. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของหน่วยงานกับเป้าหมาย หรือดัชนีชี้วัดที่กำหนด เพื่อประเมินว่าผลการดำเนินงานที่ได้จากการใช้ระบบการประกันคุณภาพ หรือระบบควบคุมคุณภาพแล้ว ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพมากน้อยเพียงใด ดัชนีชี้วัดคุณภาพ»มาตรฐานคุณภาพ Key Performance Indicator:KPI» Quality

  13. มาตรฐานกองกิจการนักศึกษามาตรฐานกองกิจการนักศึกษา • นโยบาย วัตถุประสงค์ และแผนงาน • การบริหารจัดการ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9มาตรฐานคุณภาพภายใน • ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินงาน • การเรียนการสอน • กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา • การวิจัย • การบริการทางวิชาการแก่สังคม • การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • การบริหารและการจัดการ • การเงินและงบประมาณ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

  14. การประกันคุณภาพภายนอกการประกันคุณภาพภายนอก เป็นระบบการประกันคุณภาพโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)” (สมศ.) ซึ่งเป็นองค์กร ที่ตั้งขึ้นจากพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดย สมศ. มีหน้าที่ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาบัน ซึ่งกระทำอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก ๆ 5 ปี เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันฯ อย่างต่อเนื่อง

  15. การประกันคุณภาพภายนอก เพื่อให้มหาวิทยาลัย ... • ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษา (Awareness) • มีความพยายาม ในการพัฒนาสู่คุณภาพการศึกษา (Attempt) • มีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน ที่ได้มาตรฐาน (Achievement)

  16. 7มาตรฐานคุณภาพภายนอก • ด้านคุณภาพบัณฑิต • ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ด้านการบริการวิชาการ • ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน • ด้านระบบการประกันคุณภาพ

  17. V S ควบคุม การดำเนินงาน ตามมาตรฐานคุณภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนดำเนินงาน ตรวจสอบ และประเมิน ตามองค์ประกอบคุณภาพ รายงานสรุป ข้อมูลป้อนกลับเพื่อการพัฒนา / ปรับปรุง รายงาน ผลการตรวจประเมิน ตรวจ และ ประเมิน โดย สมศ. การติดตาม ทุก 5 ปี การประกันคุณภาพภายใน ภายนอก ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก ข้อมูลป้อนกลับสถาบัน เพื่อการพัฒนา ข้อมูลรายงานภาครัฐ

  18. มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต

  19. มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต

  20. มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต

  21. มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต

  22. มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต

  23. มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต

  24. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  25. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  26. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  27. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  28. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  29. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  30. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  31. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  32. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  33. มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา

  34. 4 แนวทางการดำเนินกิจกรรมของนักศึกษา • การดำเนินงานเชิงระบบ (PDCA) • ใช้ประสบการณ์/ ความรู้จากการดำเนินงานในอดีต • มีการประมวลผล เพื่อค้นหา Best practice • การเขียนรายงานBest practice Best practiceคือ การดำเนินงานกิจกรรมที่ดีขึ้น โดยสามารถอธิบายได้ว่า ดีแค่ไหน ? ดีอย่างไร ? และ ดีขึ้นเพราะอะไร ?

  35. การดำเนินงานเชิงระบบPDCAการดำเนินงานเชิงระบบPDCA • Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น • Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้กำหนดไว้ • Check คือ การตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จำเป็นต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขขั้นตอนใดในแผนงานหรือไม่ อย่างไร • Actคือ การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข ส่วนที่มีปัญหา หากไม่มีปัญหาใดๆ Act คือการ ยอมรับแนวทางการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดนั้น เพื่อนำไปใช้ในการทำงานครั้งต่อไป Dr. W. Edwards Deming 1900 - 1993

  36. 4การวางแผนอย่างเป็นระบบ4การวางแผนอย่างเป็นระบบ • กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย ให้คลอบคลุมความคาดหวังของสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย โดยสอดคล้องกับเป้าหมายของมหาวิทยาลัย • มีแผนดำเนินงานตลอดกิจกรรม และอนาคต • ระบุดัชนีชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรมให้ชัดเจน • จัดโครงสร้าง การมอบหมายภารกิจในการดำเนินกิจกรรม ให้เอื้อต่อการพัฒนา และสร้างสรรค์

  37. 5การจัดกิจกรรมให้มีประสิทธิผลในระยะยาว5การจัดกิจกรรมให้มีประสิทธิผลในระยะยาว • ความเชื่อของนายกสโมสร • การทำงานเป็นทีมอย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง • ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของทีมงาน • การสนับสนุนจากแผนกกิจกรรมนักศึกษา และกองกิจการนักศึกษา • บูรณาการระบบประกันคุณภาพ เข้ากับการดำเนินกิจกรรม

  38. บทส่งท้าย • กองกิจการนักศึกษา ควรเปลี่ยนแนวคิดจาก เน้นกฎ ไปเป็น เน้นภารกิจ และ เน้นการป้องกัน มากกว่า การแก้ไข ทั้งต้องให้ความสำคัญกับการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมเป็นสำคัญ • นักศึกษา ควรร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน • นักศึกษา ควรมีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพในระดับมหาวิทยาลัย • ควรบริหารจัดการด้วยข้อมูล จากผลการวิเคราะห์วิจัยตามข้อเท็จจริง • กิจกรรมที่ดี ควรมีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่าย.

  39. ในฐานะผู้ได้รับประโยชน์ นักศึกษาจึงควรต้องมีบทบาท ในการมีส่วนร่วม กับการดำเนินงานประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะงานกิจกรรมนักศึกษา เพื่อให้งานการประกันคุณภาพ ดำเนินไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ เพราะคุณภาพของนักศึกษา คือคุณภาพของมหาวิทยาลัย นั่นเอง ” ผศ.ธงชัย สิทธิกรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา

  40. สวัสดี

More Related