1 / 29

บทที่ 4

บทที่ 4. แนวคิดมูลค่าของเงินตามเวลา (Time Value of Money). ถ้าให้ท่านเลือกรับเงิน. 0 5. 100บาท 100 บาท. มากกว่า100 บาท. ถ้าให้ท่านเลือกรับเงิน. 0 5.

katima
Download Presentation

บทที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 แนวคิดมูลค่าของเงินตามเวลา (Time Value of Money)

  2. ถ้าให้ท่านเลือกรับเงินถ้าให้ท่านเลือกรับเงิน 0 5 100บาท 100 บาท มากกว่า100 บาท

  3. ถ้าให้ท่านเลือกรับเงินถ้าให้ท่านเลือกรับเงิน 0 5 100บาท 110 บาท 150 บาท โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากได้ 10 %/ปี

  4. ดอกเบี้ยทบต้น และมูลค่าอนาคต ดอกเบี้ยทบต้น หมายถึง ดอกเบี้ยที่ได้รับจากการฝากเงิน ซึ่งถูกคิดรวมกับเงินต้นเป็นงวดๆ เช่น ถ้าฝากเงินกับธนาคาร 100 บาท อัตราดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ • คำนวณดอกเบี้ย และเงินรวมเมื่อสิ้นปีที่ 1 ได้ดังนี้ เงินรวม = เงินต้น + ดอกเบี้ย = 100 + ( 100 x 10%) = 100 + 10 = 110

  5. เส้นเวลาของเงิน (Time Line) Time : 0 i% 1 i% 2 3....................n Cash flow:CF0 CF1 CF2 CF3..............CFn สิ้นปีที่2หรือ ต้นปีที่3 สิ้นปีที่3หรือ ต้นปีที่4 ปัจจุบันหรือปี0หรือต้นปีที่1 อนาคต สิ้นปีที่1หรือ ต้นปีที่2

  6. มูลค่าปัจจุบัน Present Value มูลค่าอนาคต Future Value ดอกเบี้ยทบต้น (Compounding)  PV FV การคิดลด(Discounting) 0 1 2 3 n  การคำนวณมูลค่าของเงิน • มูลค่าอนาคตของเงิน(Future Value of Money) 2) มูลค่าปัจจุบันของเงิน(Present Value of Money) 100 110 146.41 161.05 121 133.1

  7. การคำนวณมูลค่าอนาคต ( Future Value ) มูลค่าในอนาคตของเงิน เป็นการนำดอกเบี้ย หรือผลตอบแทน ที่ได้รับรวมเข้ากับเงินต้น ซึ่งเรียกว่า มูลค่าทบต้น การคำนวณมูลค่าในอนาคต แบ่งเป็น 2 กรณี • การคำนวณมูลค่าในอนาคตของกระแสเงินสดจำนวนเดียว • การคำนวณมูลค่าในอนาคตของกระแสเงินสดที่เกิดขึ้น ทุกๆงวดๆละเท่าๆกัน

  8. การคำนวณมูลค่าในอนาคตของกระแสเงินสดจำนวนเดียวการคำนวณมูลค่าในอนาคตของกระแสเงินสดจำนวนเดียว เงินรวม หรือมูลค่าในอนาคต = เงินต้น ( มูลค่าปัจจุบัน ) + ดอกเบี้ย

  9. กำหนดให้ PV คือ มูลค่าปัจจุบัน (ณ เวลา 0) หรือ เงินต้น i คือ อัตราดอกเบี้ยต่องวด(%) INT คือ จำนวนดอกเบี้ยที่ได้รับในแต่ละงวด FVn คือ มูลค่าในอนาคต ณ เวลาที่ n n คือ จำนวนงวด เช่น PV = 100 , i = 10% , INT = 100 x 10% = 10 บาท ถ้า n = 1 ปี , FV1 = 100 + 10 = 110

  10. มูลค่าในอนาคต = เงินต้น (มูลค่าปัจจุบัน) + ดอกเบี้ย FV1 = PV + INT = PV + PV(i) = PV ( 1 + i ) = 100 ( 1 + 0.10 ) เมื่อสิ้นปีที่ 1 จะได้รับเงินทั้งหมด = 110 บาท ตัวอย่าง 4.1 นายเอกฝากเงิน 100 บาท ในธนาคารเป็นเวลา 1 ปี โดยธนาคารคิดดอกเบี้ยทบต้นในอัตราร้อยละ 10 ต่อปี เมื่อสิ้นปีที่ 1 เขาจะได้รับเงินเท่าใด Time line 0 i=10% 1 PV=100 FV1=?

  11. ตัวอย่างที่ 4.2จากตัวอย่างที่ 4.1 ถ้านายเอกฝากเงิน 100 บาท เป็นเวลา 3 ปี อัตราดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 10 ต่อปี คำนวณจำนวนเงินที่นายเอกได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 3

  12. ฝาก 3 ปี ปีที่ เงินต้น ดอกเบี้ย เงินรวมปลายปี 1 100 บาท 100 x 0.10 = 10 100+10 = 110 2 110 บาท 110 x 0.10 = 11 110+11 = 121 3 121 บาท 121 x 0.10 = 12.10 121+12.10 = 133.10 PV×i PV+PV×i=PV(1+i) PV PV(1+i)×i PV(1+i)+PV(1+i)×i=PV(1+i)(1+i) PV(1+i) = PV(1+i)2 PV(1+i)2 ×i PV(1+i)2+PV(1+i)2×i=PV(1+i)2(1+i) PV(1+i)2 = PV(1+i)3

  13. FV 1 = PV ( 1 + i ) = PV ( 1+i)1 • = 100 ( 1+ 0.10 ) =110 • FV 2 = PV ( 1 + i ) ( 1+ i )= PV ( 1+i)2 • = 100 (1 +0.10 ) ( 1+0.10 ) =121 • FV 3 = PV ( 1+ i ) ( 1+i ) (1+i ) = PV (1+i)3 • = 100 (1+0.10) (1+0.10) (1+0.10) • = 133.10

  14. จากตัวอย่างนี้ ถ้าฝากเงินไว้ n งวด จะสามารถคำนวณมูลค่าในอนาคต ได้ดังนี้ เปิดตาราง FVIFi,n FVn = PV ( 1+ i ) n FVn = PV(FVIFi,n)

  15. 0 i=10% 1 2 3 PV=100 FV3=? ตัวอย่าง 4.3 นายเอกฝากเงิน 100 บาท ในธนาคารเป็นเวลา 3 ปี โดยธนาคารคิดดอกเบี้ยทบต้นในอัตราร้อยละ 10 ต่อปี เมื่อสิ้นปีที่ 3เขาจะได้รับเงินเท่าใด โดยใช้ตารางสำเร็จรูป FVn = PV (FVIFi,n) = PV(FVIF10%,3) FV3 = 100(1.331) = 133.10 บาท

  16. 2. การคำนวณมูลค่าอนาคตของกระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นทุก ๆ งวด งวดละเท่า ๆ กัน (Future Value of Annuity) ในที่นี้จะศึกษาเฉพาะ การฝากเงินหลายๆงวดๆละเท่าๆกัน โดยแต่ละงวดฝากทุกวันสิ้นงวด เช่นทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นปี ซึ่งคำนวณผลรวมของมูลค่าในอนาคตของกระแสเงินสด ที่เกิดขึ้นทุกๆงวดๆละเท่าๆกันได้จาก FVA = A ∑ ( 1 + i )n-t n t=1

  17. ตัวอย่าง4.4 นายชนะฝากเงินทุกสิ้นปี ปีละ 100 บาท เป็นเวลา 3 ปี โดยธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 10 เขาจะมีเงินเท่าไรเมื่อสิ้นปีที่ 3 0 1 2 3 10% 100(1+0.10)0 100 100 100 100 100(1+0.10)1 FVA3= 110 100(1+0.10)2 121 331

  18. n นำค่า ∑ ( 1 + i ) n-t t=1 ไปคำนวณเป็นตารางสำเร็จรูปเรียกว่า ตาราง FVIFA ได้ดังนี้ FVA = A ( FVIFAi,n )

  19. 0 1 2 3 10% หรือใช้สูตร FVAn = A (FVIFAi,n ) แทนค่า FVA3 = 100 (FVIFA10%,3) = 100(3.3100) = 331.00 บาท 100 100 100 FVA3=?

  20. การคำนวณมูลค่าปัจจุบัน ( Present Value ) เนื่องจากเมื่อได้รับเงินในปัจจุบัน มักนำเงินไปลงทุน หาผลตอบแทน ดังนั้นเงินที่ได้รับในอนาคตจึงมากกว่าเงิน ณ. ปัจจุบัน

  21. การคำนวณมูลค่าปัจจุบันแบ่งได้เป็น 2 กรณี • การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคต เพียงงวดเดียว 2. การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคต เป็นงวดๆละเท่าๆกันทุกสิ้นงวด

  22. 1.การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตเพียงงวดเดียว(Present Value of Single Annuities) การคำนวณมูลค่าปัจจุบัน จะเป็นส่วนกลับของมูลค่าในอนาคต ดังนั้นจึงนำสูตรคำนวณมูลค่าในอนาคต มาประยุกต์ใช้ในการคำนวณ ในการคำนวณมูลค่าปัจจุบัน ได้ดังนี้ FVn = PV (1 + i )n PV = FVn (1+i ) = FVn 1 (1+i) n n

  23. นำค่า 1 ไปสร้างเป็นตารางสำเร็จรูป เรียกว่าตาราง PVIF (1+ i )n คังนั้น PV = FVn ( PVIF i,n )

  24. ตัวอย่างที่4.5 นายฟลุ๊คต้องการที่จะมีเงิน 133.10 บาท ในธนาคาร เมื่อสิ้นปีที่ 3 เขาจะต้องฝากเงินในปัจจุบัน เท่าใด ถ้าธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 10 ต่อปี

  25. 0 1 2 3 10% 133.1 PV = ? PV = FVn ( PVIFi,n ) PV = 133.1(PVIF10%,3) FV3 0.7513 = 133.1 x 0.7513 = 100 บาท

  26. 2. การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่เกิดขึ้นในอนาคตเป็นงวด ๆ งวดละเท่า ๆ กันทุกสิ้นงวด ในกรณีที่ได้รับเงินในอนาคตหลายงวดๆละเท่าๆกัน ทุกสิ้นงวด การคำนวณหาค่าปัจจุบันรวมคำนวณได้จาก n PVA = A ∑ 1 t=1 (1+i)t

  27. n ไปสร้างตารางสำเร็จรูป นำค่า ∑ 1 t=1 (1+i)t PVIFA ได้ดังนี้ PVA = A ( PVIFA i, n )

  28. ตัวอย่าง 4.6 นายปิงปองตัดสินใจที่จะฝากเงินจำนวนหนึ่งในปัจจุบันนี้ โดยที่เขา สามารถเบิกถอนเงินใช้ได้ตอนสิ้นปี ปีละ 100 บาท เป็นเวลา 3 ปีข้างหน้า เขาจะต้องฝากเงินในปัจจุบันเท่าใด ถ้าธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อปี 0 1 2 3 10% 100 100 100 100(PVIF10%,1) 90.91 100(PVIF10%,2) 82.64 100(PVIF10%,3) 75.13 248.68 = PVA

  29. 0 1 2 3 PVA = A (PVIFA i , n ) PVA = 100 (PVIFA 10% , 3) = 100(2.4869) = 248.69 บาท 10% 100 100 100 PVA

More Related