1 / 46

ชี้แจงสาระสำคัญ แผนปฏิบัติราชการปี 255 4

ชี้แจงสาระสำคัญ แผนปฏิบัติราชการปี 255 4. กองแผนงาน. เอกสารประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงานเครือข่ายกลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการปี 2553 และวางแผนการพัฒนาปี 2554 วันที่ 25 - 28 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมโนโวเทล อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. Outline.

Download Presentation

ชี้แจงสาระสำคัญ แผนปฏิบัติราชการปี 255 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชี้แจงสาระสำคัญแผนปฏิบัติราชการปี 2554 กองแผนงาน เอกสารประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงานเครือข่ายกลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการปี 2553 และวางแผนการพัฒนาปี 2554 วันที่ 25 - 28 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมโนโวเทล อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

  2. Outline • เป้าหมายการดำเนินงานผลผลิต ตัวชี้วัด และกิจกรรมหลักตามสำนักงบประมาณ • ความก้าวหน้ากรอบการจัดสรรงบประมาณปี 2554 1) กรอบวงเงิน งบดำเนินงานโครงการ (ไม่รวมภารกิจขั้นต่ำ ประจำ) 2) การจัดสรรค่าเวชภัณฑ์ยาและมิใช่ยา 3) การจัดสรรงบรายจ่ายอื่น (งบเดินทางไปราชการต่างประเทศ / งบวิจัย) 4) การจัดสรรงบอุดหนุน 5) การจัดสรรงบบุคลากร / ภารกิจขั้นต่ำ / ประจำ และค่าจ้างพนักงานสนับสนุน ปฏิบัติการ 3. การบันทึกข้อมูลในระบบ Estimates (ส่วนเพิ่มเติมในปี 2554)

  3. แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค 3,367.2788 ล้านบาท ยุทธศาสตร์การ จัดสรรงบประมาณ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม แผนงานพัฒนาด้านสาธารณสุข แผนงาน 1.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถลดภาระโรค ภัยคุกคามและความรุนแรงด้านสุขภาพได้ 3,367.2788 ล้านบาท (100%) เป้าหมายการให้บริการกระทรวง 1.เครือข่ายมีระบบข่าวกรองที่ทันสมัยและมีศักยภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค การบังคับใช้กฎหมาย และการจัดการป้องกัน ลดปัญหาที่มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ รวมทั้งเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 1,990.4543 ล้านบาท (59.11%) 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 1,376.8245 ล้านบาท (40.89%) เป้าหมายการให้บริการกรมฯ 1.กำหนดและพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมาย มาตรการ มาตรฐาน แนวปฏิบัติ เพื่อการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 2. พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบ กลไกของ หน่วยงานและเครือข่าย ระบบข่าวกรอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ การบังคับใช้กฎหมายและการสื่อสัญญาณเตือนภัย การระบาดของโรค ภัยและปัจจัยเสี่ยง 3.พัฒนาและปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้ง การสื่อสารความเสี่ยง กรณีที่เป็นปัญหา วงกว้างหรือเกิดโรคระบาดรุนแรง 4.พัฒนาการบริการรักษาและฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพ ของหน่วยงานและเครือข่ายให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล กลยุทธ์ 1. องค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่ได้มาตรฐาน (60 เรื่อง) 274.2047 ล้านบาท (8.14%) 2. เครือข่ายเป้าหมายได้รับการสนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ (1,566 หน่วยงาน) 1,716.2496 ล้านบาท (50.97%) 4.เครือข่ายเป้าหมายได้รับการพัฒนาคุณภาพ การให้บริการเฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพ (28 หน่วยงาน)717.6628 ล้านบาท (21.31%) 3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่ เป็นปัญหาสำคัญ (5,119,000 ราย) 659.1617 ล้านบาท (19.58%) ผลผลิต 1.1 ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการเพื่อกำหนด นโยบาย ยุทธศาสตร์กฎหมาย มาตรการมาตรฐาน แนวปฏิบัติ และถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ (60 เรื่อง) 274.2047 ล้านบาท (8.14%) ยุทธ์ 2 (ศูนย์กลางนโยบาย มาตรการที่ได้มาตรฐานสากล บางส่วน) + ยุทธ์ 5 (ประเมินผล ภาพรวมของประเทศตาม มาตรฐานสากล) 2.1 พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ (5 ระบบ) 232.1445 ล้านบาท (6.89%) ยุทธ์ 2 บางส่วน (ศูนย์กลาง : ข้อมูลอ้างอิง) 3.1บริการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพที่เป็นปัญหารุนแรงและ กลุ่มเป้าหมายพิเศษ (5,119,000 ราย) 519.2977 ล้านบาท (15.42%) ภารกิจพื้นฐาน 4.1 บริการรักษาและฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่ และภัยสุขภาพของหน่วยงาน เพื่อสร้าง มาตรฐานระบบบริการ (256,000 ราย) 586.9721 ล้านบาท (17.43%) ภารกิจพื้นฐาน 2.2 พัฒนาระบบบริหารจัดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์(30 หน่วยงาน) 382.6447 ล้านบาท (11.36%)ยุทธ์ 6 + ภารกิจพื้นฐาน กิจกรรมหลัก 2.3 แก้ไขปัญหามลพิษและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตจังหวัดระยอง (1 เรื่อง) 4.4415 ล้านบาท (0.13%) ยุทธ์ 2 (ศูนย์กลางนโยบายฯ มาตรการที่ได้มาตรฐานสากลบางส่วน) 4.2 พัฒนาศักยภาพระบบ กลไก ของหน่วยงานและเครือข่ายบริการ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคติดต่ออุบัติใหม่และภัยสุขภาพ (28 หน่วยงาน) . 130.6907 ล้านบาท (3.88%) ยุทธ์ 1 บางส่วน (พัฒนาความร่วมมือ กับเครือข่ายฯ สนับสนุนพื้นที่) 3.2 ถ่ายทอดความรู้ในการดูแล สุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่มีคุณภาพ(9 เรื่อง) 139.8640 ล้านบาท (4.16%) ยุทธ์ 3 (สื่อสารสาธารณะและ ประชาสัมพันธ์) 2.4 พัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (1 ระบบ)437.6785 ล้านบาท (13%)ยุทธ์ 4 (เตรียมพร้อมสถานการณ์ฉุกเฉิน+พิภัยพิบัติ) 2.5 พัฒนา ประสาน สนับสนุนและประเมินศักยภาพ ระบบ กลไก เครือข่ายการ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในและระหว่างประเทศ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (1,566 หน่วยงาน) 659.3404 ล้านบาท (19.58%) ยุทธ์ 1 ส่วนใหญ่ (พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายฯ สนับสนุนพื้นที่) ***ข้อมูลหลังปรับลดขั้นกรรมาธิการ_V6

  4. ตัวชี้วัดและเป้าหมายการให้บริการกรมฯตัวชี้วัดและเป้าหมายการให้บริการกรมฯ

  5. วัตถุประสงค์ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่ได้มาตรฐาน 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ 2. เพื่อพัฒนาระบบงานวิจัยของกรมควบคุมโรค โดยเน้นการเพิ่มคุณค่าของผลงานวิจัย 3. เพื่อยกระดับมาตรฐานศูนย์พัฒนาทักษะและมาตรฐานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ในระดับเขตระดับชาติและนานาชาติ 4. เพื่อถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารของกรมควบคุมโรค สู่หน่วยงานและเครือข่ายเป้าหมายการใช้ประโยชน์ทุกระดับ

  6. ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิตตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิต

  7. วัตถุประสงค์ผลผลิต (ต่อ) ผลผลิตที่ 2 : เครือข่ายเป้าหมายได้รับการสนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพและ ความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ 1. เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพให้เป็นมาตรฐานสากล 2. เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมกับเครือข่ายสุขภาพชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อพัฒนามาตรฐาน คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงานและเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐานสากล รวมทั้งพัฒนาศักยภาพระหว่างเครือข่ายให้สามารถบริการอย่างมีคุณภาพ 4. เพื่อประเมินศักยภาพและควบคุมคุณภาพมาตรฐานการเฝ้าระวังให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายของหน่วยงานและเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 5. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 6. เพื่อยกระดับมาตรฐาน คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและยกระดับคุณภาพการทำงานของกรมควบคุมโรคไปสู่ระดับมาตรฐานสากล

  8. ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิตตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิต

  9. เครือข่ายที่มุ่งเน้นพัฒนามี 3 ระดับ ได้แก่ 1.เครือข่ายระดับพื้นที่ (นับที่จังหวัดและอำเภอ) - ระดับจังหวัดประกอบด้วย สสจ.,รพศ.,รพท.,กทม. และหน่วยงานอื่นๆ รวมทั้งสื่อมวลชน (นับ unit ที่จังหวัด) - ระดับอำเภอประกอบด้วย สสอ.,รพช. ทีม SRRT อำเภอ รพสต. สถาบันการศึกษา อปท. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน อื่นๆ รวมทั้งภาคประชาชน (นับ unit ที่ อำเภอ) ทั้งนี้การพัฒนาเครือข่ายต้องเป็นไปตามเกณฑ์การดำเนินงานที่กรมกำหนด 2. เครือข่ายระดับชาติ (วัดที่ กรม กระทรวง ฯลฯ) โดยวัดความเป็นเครือข่ายที่แท้จริงสะท้อนจากกลไก MOU 3.เครือข่ายระดับนานาขาติ (วัดที่หน่วยงานระดับประเทศ) โดยวัดจากกลไก MOU ประเภทเครือข่าย ในแต่ละระดับ ต้องระบุรายละเอียดการดำเนินงานกับเครือข่าย โดยแยกเป็นประเภท ได้แก่ ภาคราชการ, ภาคนักวิชาการ, ภาคสื่อมวลชน, ภาคเอกชน, ภาค NGO, ภาคประชาชน / ชุมชนตามแบบฟอร์มที่กรมกำหนด (แบบฟอร์ม 3 ที่กำหนดในการรายงานตัวชี้วัดผลผลิต ในปี 2553)

  10. เกณฑ์การดำเนินการพัฒนาเครือข่ายระดับจังหวัดและอำเภอ มีกิจกรรมหลัก ๆ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหา วางแผนร่วมกับเครือข่ายเพื่อกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน (เช่น เป้าหมายพื้นที่, จำนวน ,ประเด็นที่ดำเนินการ,กลุ่มประชากร) และการวัดผลความสำเร็จร่วมกัน 2. ประสานงาน และ/หรือ สื่อสาร ประชุมชี้แจง ถ่ายทอดแนวทาง หรืออบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหน่วยงานและเครือข่าย 3. ดำเนินกิจกรรมร่วมกันกับเครือข่าย (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกิจกรรมที่กำหนด) 4. นิเทศ ติดตาม/ ประเมินผล / สำรวจความพึงพอใจของหน่วยงานเครือข่าย จัดทำรายงานและแจ้งข้อมูลย้อนกลับ 5. สรุปบทเรียนร่วมกันกับเครือข่ายเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการพัฒนาภาคีเครือข่าย และวางแผนปฏิบัติงานในปีต่อไป

  11. วัตถุประสงค์ผลผลิต (ต่อ) ผลผลิตที่ 3 : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ 1. เพื่อปกป้องประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มอพยพ กลุ่มที่อาศัยตามชายแดนที่ห่างไกลจากบริการด้วยการปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเสริมให้กับหน่วยงานในพื้นที่เป้าหมายและเร่งรัด การลดปัญหาโรคติดต่อที่สำคัญเป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่กลุ่มเสี่ยง พื้นที่ชายแดน พื้นที่ท่องเที่ยว รวมทั้งพื้นที่รอบเขตพระราชฐาน 2. เพื่อสื่อสารถ่ายทอดความรู้ แนะนำการจัดการพฤติกรรมเสี่ยงและสิ่งแวดล้อมด้วยมาตรการ การเฝ้าระวังให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและองค์กรท้องถิ่นมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดปัญหาการระบาดของโรคในวงกว้างหรือรุนแรง

  12. ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิตตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิต

  13. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง 1.กลุ่มประชาชนไทยที่อยู่ในพื้นทีท่องเที่ยว พื้นที่รอบเขตพระราชฐาน พื้นที่ชายแดน และพื้นที่เป้าหมายการเร่งรัดลดปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ และเป็นปัญหาเฉพาะ เช่น ไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออก โรคเท้าช้าง และการรั่วของสารเคมี เป็นต้น 2. กลุ่มผู้เดินทางระหว่างประเทศ เช่น ประชาชนคนไทยที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ แรงงานไทยที่เดินทางไปทำงานต่างประเทศ และนักท่องเที่ยวที่เดินทางไป – มา ระหว่างประเทศที่เป็นเขตติดโรค เป็นต้น 3. กลุ่มประชากรต่างด้าว / แรงงานต่างด้าวที่มาอาศัยในประเทศไทย (รวมประชากรในค่ายอพยพ)

  14. บริการ หมายถึง บริการที่เป็น Vertical Program 1.บริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ได้แก่ พ่นสารเคมี ชุบมุ้งป้องกันไข้มาลาเรีย กำจัดลูกน้ำยุงลาย ตรวจวินิจฉัยรักษาโรคมาลาเรีย หนอนพยาธิ เท้าช้าง บริการตรวจทางอาชีวอนามัย ตรวจสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม 2.ให้วัคซีนป้องกันโรค และตรวจคัดกรองผู้เดินทางระหว่างประเทศ 3.บริการอื่นๆ ได้แก่ - บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ - บริการสอบสวนควบคุมโรค และสนับสนุนเวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ ในกรณีเกิดโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำในพื้นที่หรือเกิดโรคระบาดมากกว่า 1 จังหวัด

  15. วัตถุประสงค์ผลผลิต (ต่อ) ผลผลิตที่ 4 : เครือข่ายเป้าหมายได้รับการพัฒนาคุณภาพ การให้บริการเฉพาะ โรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่ และภัยสุขภาพ 1. เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการรักษา การบริการเฉพาะโรคของสถาบันโดยการศึกษาวิจัย สร้างองค์ความรู้ รูปแบบ แนวทางการดำเนินงาน การควบคุมคุณภาพมาตรฐานการบริการ ความก้าวหน้าของเทคนิคการตรวจวินิจฉัย รักษา ควบคุม ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ภาวะแทรกซ้อน และฟื้นฟูสภาพให้แก่หน่วยบริการอื่นๆ 2. เพื่อพัฒนาเป็นสถาบันฝึกอบรมและวิจัย เป็นแหล่งเรียนรู้ของเครือข่ายสถานบริการ 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและการบริการระดับตติยภูมิที่ทันสมัย ประสานสนับสนุน ความร่วมมือกับหน่วยงานและเครือข่ายบริการเฉพาะโรคภาคพื้นที่ด้านโรคติดต่อสำคัญ โรคติดต่ออุบัติใหม่ และภัยสุขภาพที่จะเป็นปัญหาวงกว้างในอนาคต 4. เพื่อกักกันผู้ป่วยโรคติดต่อร้ายแรง ห้องแยกเชื้อและรองรับการส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อเฉพาะโรคติดต่อสำคัญและการชันสูตรศพโรคติดต่อร้ายแรงในระดับตติยภูมิ รวมถึงการกักกันผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศ

  16. ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิตตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับผลผลิต

  17. เครือข่าย หมายถึง หน่วยงานด้านสุขภาพภายนอกกรมควบคุมโรคที่กำหนดเป็นเป้าหมายในการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการรักษา และบริการเฉพาะโรค ได้แก่ โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน *นับการดำเนินงานของสถาบันบำราศนราดูรสถาบันราชประชาสมาสัย สำนักวัณโรค สำนักเอดส์ พัฒนาคุณภาพการให้บริการ หมายถึง การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน บริการ การตรวจวินิจฉัย รักษา ควบคุม ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ภาวะแทรกซ้อน และฟื้นฟูสภาพตลอดจน การจัดระบบบริการเฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพ

  18. ความก้าวหน้าของการจัดทำกรอบความก้าวหน้าของการจัดทำกรอบ การจัดสรรงบประมาณปี 2554

  19. “ร่าง” กรอบวงเงินงบดำเนินงานโครงการปี 2554 ได้รับจัดสรร 1,265.7623 ล้านบาท ค่ายาเวชภัณฑ์มิใช่ยา 520.9850 ล้านบาท กันส่วนกลางกรมฯ 171.0389 ล้านบาท กรอบวงเงินจัดทำแผนฯ 744.7773 ล้านบาท วิธีการคำนวณงบประมาณของหน่วยงาน • ใช้ฐานข้อมูลงบประมาณปี 2553 ของแต่ละโครงการหลังจัดสรรรอบที่ 1 และรอบที่ 2 • หักส่วนที่โอนให้หน่วยงานอื่น โอนเป็นงบลงทุน และโอนคืนกรมฯ และโครงการที่ไม่ต้องดำเนินการในปี 2553 (-  X) • กันส่วนกลาง (งานนโยบาย, สำรองฉุกเฉิน, งานใหม่ (+  X) เช่น BRFSS3 ปีครั้ง, จัดกิจกรรมจัดการความรู้กรมฯ 2 ปีครั้งสัมมนาเอดส์ชาติ ฯลฯ)

  20. การเตรียมจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปี 2554 กรอบวงเงินค่ายาฯ รวมทั้งสิ้น520.985 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 41.16 ของงบในการจัดทำผลผลิต (1,265.7623 ล้านบาท) ที่ได้รับใน ปี 2554 แบ่งเป็น ผลผลิตที่ 2 : 263.8657 ล้านบาท (50.65 %) ผลผลิตที่ 3 : 110.5228 ล้านบาท (21.21 %) ผลผลิตที่ 4 : 146.5965 ล้านบาท (28.14 %)

  21. การเตรียมจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปี 2554 (ต่อ)  11 สิงหาคม 2553 แจ้งเวียนสำนัก / สถาบัน และสคร. จัดทำเกณฑ์และแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาฯ ส่งกลับกองแผนงานภายในวันที่ 23 สิงหาคม 2553 การพิจารณา : - คณะทำงานพิจารณาแผนฯ วันที่ 8, 15 กันยายน 2553 -ความเหมาะสมของเกณฑ์ฯ - ความชัดเจนในประเด็นของการจัดซื้อและการกระจายยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาระหว่างสำนักฯ และ สคร. - ความสอดคล้องของข้อมูลในแผนยาฯ เช่น การใช้ย้อนหลัง 3 ปี จำนวนคงคลัง ประมาณการใช้ ประมาณการจัดซื้อ - รายจ่ายจริงปี 2553 และต้นทุนที่ซื้อ (ใช้ข้อมูลจากระบบ Estimates)

  22. การจัดสรรงบรายจ่ายอื่นการจัดสรรงบรายจ่ายอื่น งบเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราววงเงิน 6,165,000 บาท (15 โครงการ) - แจ้งเวียนให้หน่วยงานทบทวน (สธ 0404.2/ ว 246 ลว.3 สค.53) แจ้งยืนยัน ส่งกลับกองแผนงานภายในวันที่ 6 สิงหาคม 2553 การพิจารณา - แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาและกำหนดเกณฑ์ในการเดินทางไปต่างประเทศ - พิจารณาและให้ความสำคัญโครงการที่เป็นไปตามเกณฑ์ เพื่อเสนอสำนักงบประมาณอนุมัติแผนฯ

  23. ลำดับความสำคัญของ งบเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว(เกณฑ์ปี 52) * ให้ความสำคัญเฉพาะ ข้อ 1 ส่วนข้อ 2 - 5 ให้หน่วยงานขอสนับสนุนเงินจากแหล่งอื่น

  24. การจัดสรรงบรายจ่ายอื่น (ต่อ) กรณีมีโครงการนอกแผน ดำเนินการดังนี้ - ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นถึงประโยชน์ ประชาชน / ประเทศชาติ / องค์กรได้ หากไม่ได้ดำเนินการจะเกิดความเสียหายอย่างไร - ระบุบทบาทของผู้เดินทางไปต่างประเทศว่า มีหน้าที่อะไรใน การประชุมครั้งนั้น - จัดทำแบบฟอร์มค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามระเบียบ - พิมพ์ราคาค่าตั๋วเครื่องบินไป-กลับของสายการบินที่เดินทาง (จาก Internet) - จัดทำอนุมัติตัวบุคคล - จัดทำแบบฟอร์มปรับแผน / แบบฟอร์มเงินโอน (ใช้เงินหน่วยงาน) - เสนอกรมฯ อนุมัติ (ผ่านกองแผนงาน)

  25. 2. ค่าใช้จ่ายสำหรับการวิจัย 45.9305 ล้านบาท (60 เรื่อง) - สำนักจัดการความรู้แจ้งให้หน่วยงานส่ง Proposal ภายใน วันที่ 30 สิงหาคม 2553 - หน่วยงานส่ง Proposal โครงการ (ใหม่) 23 โครงการ พิจารณาแล้วอนุมัติให้ดำเนินการ 2 โครงการ อนุมัติมีเงื่อนไข 3 โครงการ ส่งกลับแก้ไข 18 โครงการ - ไม่ให้มีงบลงทุนในโครงการวิจัย โดยเฉพาะการจัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ครุภัณฑ์สำนักงาน ครุภัณฑ์ยานพาหนะ และสิ่งก่อสร้าง สำหรับครุภัณฑ์อื่นให้คณะกรรมการพิจารณาตาม ความจำเป็น

  26. การเตรียมจัดสรรงบเงินอุดหนุน ปี 2554 * แจ้งให้หน่วยงานทบทวน “ร่าง” กรอบการจัดสรรงบอุดหนุน” และเตรียมจัดทำโครงการ (บท ที่ สธ 0404.6/ว 279 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2553) ส่งกลับกองแผนงานภายในวันที่ 27 สิงหาคม 2553

  27. การเตรียมจัดทำบัญชีการจัดสรรการเตรียมจัดทำบัญชีการจัดสรร งบเงินอุดหนุน ปี 2554 (ต่อ) ค่าอาหารผู้ป่วยโรคเรื้อน 1.1 ประมาณการกรอบการจัดสรร โดยใช้ข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อนจากสถาบันราชประชาสมาสัย (4,264 คน x 75 บาท x 365 วัน = 116,727,000 บาท) 1.2 สำนักงบประมาณอนุมัติวงเงิน อัตรา 60 บาท/คน /วัน งบประมาณ 93,381,600 บาท (กรมฯ ต้องหาเงินมาสมทบ 23,345,400 บาท)

  28. การเตรียมจัดทำบัญชีการจัดสรรงบเงินอุดหนุน ปี 2554 (ต่อ) 1. สถาบัน / สคร.1 - 12 1.1 สรุปจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนในนิคมและชุมชนที่อยู่ในความสงเคราะห์ในปัจจุบัน และที่พิจารณาปรับเพิ่มในปี 2554 รวมถึงสรุปจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนที่เสียชีวิต โดยปรับปรุงข้อมูลตามแบบฟอร์มภายในวันที่ 27 สิงหาคม 2553 1.2 เร่งรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณเงินอุดหนุนทุกรายการของปี 2553 ในระบบ Estimates

  29. การเตรียมจัดทำบัญชีการจัดสรรงบเงินอุดหนุน ปี 2554 (ต่อ) 2. สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2.1 ทบทวน (ร่าง) บัญชีจัดสรร “เงินอุดหนุนองค์กรเอกชนในการแก้ไขปัญหาเอดส์” จัดทำโครงการเป็นภาพรวม 2.2 สรุปจำนวนองค์กรเป้าหมายพร้อมวงเงินที่จะดำเนินการตามแผนแยกรายหน่วยงาน เสนอกรมฯ และประสานกับสคร.ที่ 1-12 เพื่อให้จัดทำเงินอุดหนุนองค์กรเอกชนในการแก้ไขปัญหาเอดส์ ดังกล่าว

  30. 3. สำนักระบาดวิทยา 3.1 จัดทำแผนฯ เงินอุดหนุนทุนการศึกษาเพื่อพัฒนาแพทย์ด้านระบาดวิทยา จำนวน 2 ทุน (4,686,000 บาท) 3.2 จัดทำแผนฯ เงินอุดหนุนการผลิตและพัฒนาศักยภาพแพทย์และบุคลากรด้านสาธารณสุขภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จำนวน 1 ทุน (นายแพทย์โรม บัวทอง จำนวน 380,000 บาท 4. สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำแผนฯ เงินอุดหนุนการผลิตและพัฒนาศักยภาพแพทย์และบุคลากรด้านสาธารณสุขภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จำนวน 1 ทุน (แพทย์หญิงสุชาดา เจียมศิริจำนวน 690,000 บาท) ***ทุกหน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบเงินอุดหนุน จัดทำแผนปฏิบัติราชการและโครงการรองรับงบ ในรายการที่เกี่ยวข้อง***

  31. การเตรียมจัดสรรงบบุคลากร / ภารกิจขั้นต่ำ / ประจำ • งบบุคลากร (เงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าตอบแทนพนักงานราชการ) • งบดำเนินงาน • * ขั้นต่ำ • - เงินเพิ่มพิเศษสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์และเภสัชกรที่ไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว • - ค่าตอบแทนข้าราชการเงินเดือนเต็มขั้น / ลูกจ้างประจำเงินเดือนเต็มขั้น • - เงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข • - ค่าเช่าบ้าน • - ค่าเช่าทรัพย์สิน • - ค่าสาธารณูปโภค (รอกองคลังจัดทำข้อมูล) • * ภารกิจประจำ • - ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานให้ราชการ • - ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานเวรบ่ายและเวรดึกของพยาบาล • - ค่าตอบแทนพิเศษพนักงานราชการ • - ค่าเช่ารถยนต์ • - ค่าจ้างเหมาพนักงานสนับสนุนปฏิบัติการ (รอสำนักแมลงฯ ปรับปรุงมติคณะทำงาน) • - เงินสมทบกองทุนประกันสังคม

  32. แนวทางและการเตรียมการจัดสรรฯแนวทางและการเตรียมการจัดสรรฯ • 1. ใช้ข้อมูลจากคำของบประมาณของกองการเจ้าหน้าที่และข้อมูลจากหน่วยงานประกอบการพิจารณา • 2. ค่าสาธารณูปโภคใช้ข้อมูลรายจ่ายจริง 3 ปีย้อนหลังจากระบบ GFMIS พิจารณาเลือกค่าต่ำสุด บางกรณีพิจารณาตามความจำเป็นและบทบาทของหน่วยงาน • 3. ค่าตอบแทนพนักงานราชการ) ใช้ข้อมูลจากกองการเจ้าหน้าที่ • 3.1 อัตราเดิม 523 อัตรา จัดสรรตั้งแต่ปี 2554 • 3.2 สำหรับอัตราใหม่ 181 อัตรา อยู่ระหว่างสำรวจความต้องการเพื่อจัดกรอบอัตรากำลังจัดสรรภายหลัง

  33. การเตรียมจัดสรรค่าจ้างเหมาพนักงานสนับสนุนปฏิบัติการการเตรียมจัดสรรค่าจ้างเหมาพนักงานสนับสนุนปฏิบัติการ ด้านควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง (ชค.) * ได้รับอนุมัติวงเงิน 29.40 ล้านบาท • ใช้เกณฑ์การพิจารณาเดิมที่ได้กำหนดเมื่อปีงบประมาณ 2550 • พนักงานที่จ้างประจำสำนักงานให้คงอัตราเดิม โดยใช้ฐานข้อมูลปี 2550 หากพนักงานคนใด ได้ปรับเป็นพนักงานราชการหรือจ้างด้วยวิธีอื่นให้ยุบอัตรานั้น โดยไม่มีการจ้างทดแทน • * วิธีการจ้าง :ให้ดำเนินการตามระเบียบการจ้างกระทรวงการคลัง ว 67 โดยจัดทำเป็นโครงการให้มีสาระของงานที่สามารถแสดงเป็นชิ้นงานและต้องทำสัญญาจ้างตามระเบียบพัสดุฯ

  34. การเตรียมจัดสรรค่าจ้างเหมาพนักงานสนับสนุนปฏิบัติการการเตรียมจัดสรรค่าจ้างเหมาพนักงานสนับสนุนปฏิบัติการ ด้านควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง (ชค.) 3. งบประมาณสำหรับจ้างพ่นสารเคมีและชุบมุ้ง คำนวณจากข้อมูลจำนวนหลังคาเรือน (พื้นที่ A1 คูณ 2 ครั้ง และ A2คูณ 1 ครั้ง) โดยใช้ฐานข้อมูลจากสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง 4. หน่วยงานใดไม่ส่งข้อมูลให้แขวนไว้ก่อน 5. ใช้ข้อมูลรายจ่ายจริงในระบบ Estimates ประกอบการพิจารณา

  35. หลักการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2554 • ทิศทางที่สอดคล้องกับ international & national commitment • ยุทธศาสตร์และนโยบายเน้นหนักเป็น priority ในการจัดทำโครงการ • กลไกทางวิชาการ :ผู้ทรงคุณวุฒิฯ • ลูกค้าของสำนักคือ สคร. • ลูกค้าของสคร.คือ พื้นที่

  36. กลไกการตัดสินใจ / และขั้นตอนการดำเนินงาน • รองอธิบดี ตัดสินใจเห็นชอบ / ปรับลด / ปรับเพิ่ม งบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการปี 2554 ของหน่วยงาน โดยพิจารณาจาก • ทิศทางการดำเนินงานของปี 2554 (สอดคล้องกับ 6 ยุทธศาสตร์ใหม่) • 2.ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมฯ ต้องตรวจสอบและกลั่นกรองแผนงาน / โครงการที่ไม่ตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อไม่ให้แผนงานและโครงการ กลายเป็นการใช้ทรัพยากรที่สูญเปล่าโดยไม่สามารถควบคุมให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ • 3. ผ่านกระบวนการกลั่นกรองของผู้ทรงคุณวุฒิฯ / คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์

  37. กลไกการตัดสินใจ / และขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 3. ควรนำหลักเกณฑ์การวิเคราะห์เพื่อจัดลำดับความสำคัญของโครงการของ สำนักงบประมาณมาประกอบการพิจารณา 3.1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ความเหมาะสมของโครงการที่จะเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 3.2 ผลผลิต ผลลัพธ์ และ / หรือผลกระทบของโครงการ และผลประโยชน์ต่อสาธารณชน 3.3 ความพร้อม / ความเป็นไปได้การดำเนินโครงการ 1) ศักยภาพของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง - มีบุคลากร / วัสดุอุปกรณ์ -มาตรการในการใช้จ่ายงบประมาณ - มีระบบการจัดทำแผนปฏิบัติการและการติดตามผล - การจัดทำรายงานประเมินตนเองและโดยผู้ประเมินอิสระ - มีระบบและระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ -ไม่มีผลผลิตที่ซ้ำซ้อน

  38. กลไกการตัดสินใจ / และขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 2) ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้าโครงการและทีมงาน (ภาวะผู้นำ / ผลงานเดิมที่ผ่านมาในการขับเคลื่อน กำกับ ดูแล ประเมินผล ทีมงานมีความรับผิดชอบ) 3) ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการ และวิธีการดำเนินการเบื้องต้น 4) แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคคล การประมาณราคา และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม 5) ความเสี่ยงของการดำเนินงาน แผนบริหารความเสี่ยง / แผนสำรองฉุกเฉิน

  39. ปฏิทิน ขั้นตอนการจัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2554 กิจกรรม ระยะเวลา หน่วยงาน รวบรวมข้อสรุปจากการประชุม “จัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2554” จัดทำเป็นกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด กรอบวงเงิน ปี 2554 เสนอผู้บริหารกรมฯ เห็นชอบและแจ้งหน่วยงานพร้อมแนวทาง / แบบฟอร์มการจัดทำแผน กองแผนงาน 18ส.ค.53 *ส่งแผนฯ ปี 54 3 ก.ย.53 สำนัก / กอง / สคร. กลั่นกรองโครงการของหน่วยงานโดยใช้กลไก *การประเมินผลก่อนเริ่มโครงการ *ผู้ทรงคุณวุฒิฯ เป็นที่ปรึกษา ด้านยุทธศาสตร์และแผนงาน หน่วยงานเสนอแผนปฏิบัติราชการหน่วยงาน ปี 2554 ภายใต้เงื่อนไข (ทิศทางยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด กรอบวงเงิน) โดยบันทึกแผนปฏิบัติราชการ และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ (สงป.) ของหน่วยงานใน ระบบบริหารจัดการงบประมาณ ตรวจทานสาระสำคัญ / วงเงิน ให้เป็นตามเงื่อนไข - ความสอดคล้อง - ความครบถ้วน - ความถูกต้อง รองอธิบดี / ผู้ทรงคุณวุฒิ / กองแผนงาน / สำนัก/สถาบัน/ กองในส่วนกลาง (หน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพ) ปรับปรุง / ปรับลด 8 - 24 ก.ย. 53 ผ่าน จัดทำภาพรวม (ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2554 และบัญชีการจัดสรรงบประมาณ (แจ้งหน่วยงานอย่างไม่เป็นทางการ) 27 - 30 ก.ย.53 กองแผนงาน ปรับปรุง 30 ก.ย.53 อธิบดี อนุมัติ เห็นชอบ ต.ค. 53 แจ้งสำนัก/ กอง / สคร .และกองคลังจัดสรรงบประมาณ กองแผนงาน 39

  40. กิจกรรม หน่วยงาน ระยะเวลา จัดทำโครงการอนุมัติตามอำนาจที่ได้รับมอบหมาย 1 - 15 ต.ค.53 สำนัก/กอง/สคร. ทบทวน กลุ่ม สว. / กลั่นกรองนำเสนอผู้อำนวยการหน่วยงานอนุมัติ กองแผนงานกลั่นกรอง นำเสนอกรมฯ อนุมัติ กรมฯ หน่วยงาน * ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินและระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 หรือระเบียบอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง * สำเนาโครงการ แผนปฏิบัติราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ (สงป.) ของหน่วยงานที่อนุมัติแล้วส่งให้ กองแผนงาน ภายในวันที่ 30 ต.ค 53 สำหรับอนุมัติโครงการในระบบบริหารจัดการงบประมาณ ติดตาม กำกับและประเมินผล * บันทึกผลการดำเนินงานในระบบ Estimates เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จในแต่ละกิจกรรมให้เป็นปัจจุบัน(Real-time) * รายงานผลการใช้จ่ายเงินให้ข้อมูลเป็นปัจจุบัน (Real-time) กลุ่มงานต่าง ๆ ของกอง / สำนัก / สถาบัน / สคร. ดำเนินการ* 40

  41. ข้อกำหนดที่สำคัญในการจัดทำโครงการข้อกำหนดที่สำคัญในการจัดทำโครงการ ปี 2554 กรมควบคุมโรคได้มีข้อกำหนดไว้ดังนี้ 1) ทุกหน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติราชการตามกรอบทิศทางยุทธศาสตร์ ประเด็น Highlight ของสำนัก และกรอบวงเงินที่ได้รับ 2) มีการปรับผลผลิตใหม่ อาจมีการย้ายฐานเงินในบางหน่วยงาน หากโครงการใดที่สาระของงานไม่สอดคล้องกับกรอบวงเงิน ให้วางโครงการให้ตรงกับเนื้องานของผลผลิต ซึ่งกองแผนงานจะพิจารณาย้ายฐานเงินให้ภายหลัง 3) ผู้อำนวยการหน่วยงานรับผิดชอบพิจารณาความเหมาะสม กำกับให้เป็นไปตามทิศทาง ตัวชี้วัด และกรอบวงเงิน โดยผ่านความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิฯ และรองอธิบดีฯ

  42. ข้อกำหนดที่สำคัญในการจัดทำโครงการ (ต่อ) 6) หน่วยงานเสนอแผนปฏิบัติราชการโดยบันทึกลงในระบบบริหารจัดการงบประมาณ (Estimates) ทั้งนี้ ให้ผู้รับผิดชอบงานแผนของหน่วยงานกลั่นกรองและตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนเสนอกรมฯ 7) หน่วยงานใดมีโครงการที่เป็น  X จัดทำแผนฯ โดย * (-  X) แจ้งชื่อโครงการดังกล่าว และยอดเงิน เพื่อปรับลดกรอบและเตรียมจัดทำโครงการใหม่ * (+  X)ให้บันทึกโครงการในระบบ Estimates โดยใส่ Delta X ท้ายชื่อโครงการ

  43. ข้อกำหนดที่สำคัญในการจัดทำโครงการ (ต่อ) 8) ควรทำเป็นโครงการร่มใหญ่ โดยบูรณาการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกันหรือกลุ่มเป้าหมายเดียวกันควรจัดกลุ่มกิจกรรมหลักดังนี้ 8.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการใหญ่ ๆ 8.2 อบรม / สัมมนา 8.3 ประชุมราชการ 8.4 การจัดทำคู่มือ / สื่อ / เอกสาร และเผยแพร่ 8.5 การจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ 8.6 การให้บริการ เช่น บริการตรวจรักษา การควบคุมโรค การสอบสวนโรค ฯลฯ 8.7 การนิเทศและประเมินผล 8.8 การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำรายงาน 8.9 กิจกรรมอื่น ๆ เช่น การบริหารจัดการ

  44. ข้อกำหนดที่สำคัญในการจัดทำโครงการ (ต่อ) 9) โครงการที่มีการจัดซื้อจัดจ้างให้จัดทำแผนจัดซื้อจัดจ้างในระบบบริหารจัดการงบประมาณ (Estimates) พร้อมสแกนสัญญาจ้างแนบไฟล์ 10) การจัดประชุม อบรม สัมมนากรมฯ ให้จัดเท่าที่จำเป็นโดยมีวัตถุประสงค์ในการ - เสริมสร้างศักยภาพของเครือข่าย - จัดกระบวนการเรียนรู้ จัดการความรู้ เพื่อนำมาปรับปรุงพัฒนางาน - การประชุมราชการ โดยเน้นเรื่องการติดตามกำกับและประเมินผล เพื่อนำมา วางแผนปรับปรุงประสิทธิภาพของงาน

  45. ข้อกำหนดที่สำคัญในการจัดทำโครงการ (ต่อ) 11) โครงการ / กิจกรรมในแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2554 ที่อธิบดีอนุมัติแล้ว ไม่ควรปรับแผน ยกเว้นกรณีจำเป็นกรมฯ โดยมอบหมายให้ผู้อำนวยการ มีอำนาจพิจารณาอนุมัติปรับแผนฯ ข้ามโครงการของหน่วยงานภายใต้กิจกรรมหลักเดียวกันได้ ยกเว้นปรับแผนเป็นโครงการประชุม อบรม สัมมนาที่เป็นรายการใหม่นอกแผนการปรับแผนที่เป็นค่าสาธารณูปโภค งบขั้นต่ำ ภารกิจประจำ /โอนงบประมาณข้ามผลผลิต / ข้ามกิจกรรมหลักและ ข้ามงบรายจ่าย รวมทั้ง การโอนข้ามหน่วยงานยังคงต้องเสนอกรมฯ พิจารณาอนุมัติเนื่องจากต้องชี้แจงต่อสำนักงบประมาณ และคณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปี *ทั้งนี้ การปรับแผนในระดับหน่วยงานต้องมีเอกสารปรับแผนฯ ตามแนวทางของกรมฯ และรวบรวมสำเนาแจ้งกองแผนงานทุกเดือน และสรุปภาพรวมสิ้นปี*

  46. ขอบคุณค่ะ

More Related