680 likes | 2.35k Views
หน่วยการเรียน เรื่อง พัฒนาการทางการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์. SCENE. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านลำทับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากระบี่. จุดประสงค์การเรียนรู้. SCENE. 1. 1.นักเรียนบอกพัฒนาการทางประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ด้านการเมืองได้. ใครคือผู้สถาปนากรุงรัตนโกลสินทร์. SCENE. 2.
E N D
หน่วยการเรียนเรื่องพัฒนาการทางการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์หน่วยการเรียนเรื่องพัฒนาการทางการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ SCENE ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านลำทับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากระบี่
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ SCENE 1 1.นักเรียนบอกพัฒนาการทางประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ด้านการเมืองได้
ใครคือผู้สถาปนากรุงรัตนโกลสินทร์ใครคือผู้สถาปนากรุงรัตนโกลสินทร์ SCENE 2 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ลองตอบดูซิจ๊ะ
SCENE 3 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชรัชกาลที่ ๑พระปฐมบรมราชวงศ์จักรี เสด็จ ฯ เถลิงถวัลย์ราชสมบัติเมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ เสด็จสววรคตเมื่อวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ อยู่ในราชสมบัติ ๕ ปีเศษ ทรงเป็นผู้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เมื่อ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕
อะไรเป็นสามเหตุหลักของการย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาฝั่งรัตนโกสินทร์อะไรเป็นสามเหตุหลักของการย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาฝั่งรัตนโกสินทร์ SCENE 4 กรุงธนบุรีเดิม คับแคบ หนีข้าศึก
สาเหตุการย้ายราชธานี SCENE 5 1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบมีวัดขนาบอยู่ทั้ง 2 ด้าน คือ วัดแจ้ง(วัดอรุณราชวราราม)และวัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ทำให้ไม่สามารถขยายอาณาเขตของพระราชวังให้กว้างขวางขึ้นได้2.พระองค์ไม่ทรงเห็นด้วยที่จะให้พระนครแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่ากลาง เป็นเสมือนเมืองอกแตกเพราะหากข้าศึกยกทัพเข้ามาตามลำแม่น้ำ ก็สามารถบุกตีใจกลางเมืองหลวงได้ ทำให้ยากแก่การเคลื่อนพลจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง ซึ่งเป็นการยากลำบากมาก ดังนั้นพระองค์จึงย้ายพระนครมาอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาเพียงแห่งเดียว โดยมีแม่น้ำเป็นคูเมืองทางด้านตะวันตกและใต้ ส่วนทางด้านตะวันออกและทางด้านเหนือโปรดเกล้าฯให้ขุดคลองขึ้นเพื่อเป็นคูเมืองป้องกันพระนคร
แม่น้ำใดทำให้กรุงธนบุรีเป็นเมืองอำแตกแม่น้ำใดทำให้กรุงธนบุรีเป็นเมืองอำแตก SCENE 6 ปิง วัง เจ้าพระยา วัง
สาเหตุการย้ายราชธานี SCENE 7 3. พื้นที่ทางฝั่งตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม สามารถขยายเมืองให้กว้างออกไปได้เรื่อยๆเพราะส่วนทางฝั่งตะวันออกของพื้นที่เป็นแหลม โดยมีแม่น้ำเป็นกำแพงกั้นอยู่เกือบครึ่งเมือง4. ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา พื้นที่เป็นท้องคุ้ง น้ำกัดเซาะตลิ่งพังทลายอยู่เสมอ จึงไม่เหมาะแก่การสร้างอาคารหรือถาวรวัตถุใดๆ ไว้ริมฝั่งแม่น้ำ
เรียงลำดับรายพระนามกษัตริย์เรียงลำดับรายพระนามกษัตริย์ SCENE 8 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่๒ รัชกาลที่๓ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระมหาเจษฎาราชเจ้า) รัชกาลที่๕ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระปิยมหาราช) รัชกาลที่๔
เรียงลำดับรายพระนามกษัตริย์เรียงลำดับรายพระนามกษัตริย์ SCENE 9 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระมหาธีรราชเจ้า) รัชกาลที่๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่๖ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่๘
การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นการเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น 10 แบ่งเป็น ๓ ส่วน ๑.การปกครองส่วนกลาง ๒.การปกครองส่วนภูมิภาค ๒.การปกครองหัวเมือง ประเทศราช
การปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ ๕ 11 ๑.มูลเหตุภายในทรงพิจารณาเห็นว่าการปกครอง แบบเดิมไม่เหมาะสมกับสภาพทางการปกครองและทางสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป สำหรับมูลเหตุสำคัญที่ผลักดันให้มี การปฏิรูปการปกครอง มีอยู่ ๒ ประการ คือ ๒.มูลเหตุภายนอกหากไม่ทรงปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ย่อมจะเป็นอันตรายต่อเอกราชของชาติเพราะขณะนั้น จักวรรดินิยมตะวันตก ได้เข้ามาแสวงหาอาณานิคมในแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
รัชกาลที่ ๕ ตั้งสภาแผ่นดิน 12 ตั้งสภาแผ่นดิน 2 สภาได้แก่1. รัฐมนตรีสภาCouncil of State ประกอบด้วยขุนนางที่มีบรรดาศักดิ์ ชั้นเจ้าพระยาทั้งหมด 12 คน มีพระองค์ท่านเป็นประธาน รัฐมนตรีสภามีหน้าที่ถวายคำปรึกษา ราชการแผ่นดิน รวมทั้งพิจารณาพระราชบัญญัติ พระราชกำหนดกฎหมายต่าง ๆ ด้วย เหมือน สภานิติบัญญัติในปัจจุบัน2. องคมนตรีสภาPrivy Council ประกอบด้วยสมาชิก 49 คน มีเชื้อพระวงศ์13 พระองค์ ทำหน้าที่เป็นสภา ที่ปรึกษา ราชการในพระองค์และมีหน้าที่ปฏิบัติราชการแผ่นดินตามแต่จะ มีพระราชดำรัส
รัฐมนตรีสภาทำหน้าที่เหมือนหน่วยงานใดในปัจจุบันรัฐมนตรีสภาทำหน้าที่เหมือนหน่วยงานใดในปัจจุบัน 13 สภานิติบัญญัติ รัฐสภา
รัชกาลที่ ๕ ปฏิรูปองค์การบริหารในส่วนกลาง 14 ปฏิรูปองค์การบริหารในส่วนกลางใหม่ดังนี้ เดิมมีอยู่ 6 กรมได้แก่ กรมมหาดไทย กรมกลาโหม กรมเมือง กรมวัง กรมท่า และกรมนาตั้งขึ้นใหม่ 6 กรมได้แก่กรมพระคลัง กรมยุติธรรม กรมธรรมการ กรมโยธาธิการ กรมยุทธนาธิการ และ กรมมุรธาธร รวมเป็น 12 กรม ต่อมายกฐานะ ขึ้นเป็นกระทรวง ภายหลังได้ยุบกระทรวงยุทธนาธิการเข้ากับ กระทรวงกลาโหม และ กระทรวงมุรธาธรรวมเข้ากับกระทรวงวัง
รัชกาลที่ ๕ การบริหารราชการส่วนภูมิภาค 15 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค โปรดฯให้จัดระเบียบบริหารราชการหัวเมืองใหม่ ให้ยกเลิกเมือง พระยามหานคร ชั้นเอก โท ตรี จัตวา และหัวเมืองประเทศราช โดยจัดเป็นมณฑลเทศาภิบาล ให้อยู่ในความดูแลของกระทรวง มหาดไทยเพียงกระทรวงเดียว
รัชกาลที่ ๕ การบริหารราชการส่วนภูมิภาค 16 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค โปรดฯให้จัดระเบียบบริหารราชการหัวเมืองใหม่ ให้ยกเลิกเมือง พระยามหานคร ชั้นเอก โท ตรี จัตวา และหัวเมืองประเทศราช โดยจัดเป็นมณฑลเทศาภิบาล ให้อยู่ในความดูแลของกระทรวง มหาดไทยเพียงกระทรวงเดียว
เมืองพระยามหานครคือเมืองใดเมืองพระยามหานครคือเมืองใด 17 ต่างจังหวัด เมืองหลวง
รัชกาลที่ ๕ ปรับปรุงกฎหมายและการศาล 18 การปรับปรุงกฎหมายและการศาลโปรดฯ ให้รวบรวมศาลที่สังกัดกระทรวงและไม่สังกัดทั้งหมด มาขึ้นกับกระทรวงยุติธรรมนับว่าเป็นการแยกอำนาจ ตุลาการ ออกจาก ฝ่ายบริหารได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทย
19 การเปลี่ยนการปกครองสมัยรัชกาลที่๗ การปกครองของไทยสมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 7 เป็นการปกครอง แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และภายหลังจาก เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในสมัยรัชกาลที่ 7 เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ เป็นสาเหตุให้ เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย โดย คณะราษฎร์ นำโดยพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าฝ่ายทหาร และหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (นาย ปรีดี พนมยงค์) เป็นหัวหน้าฝ่ายพลเรือน
ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตยกรุงรัตนโกสินทร์ปกครองแบบใดก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตยกรุงรัตนโกสินทร์ปกครองแบบใด 20 สมบูรณาญาสิทธิราช พ่อปกครองลูก
21 หลักการสำคัญของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 1. อำนาจอธิปไตย เป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ 2. รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ 3. พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยตามที่ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ - ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา หรือสภาผู้แทนราษฎร - ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี - ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล
22 มาดูคะแนนกันดีกว่า <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>