1 / 34

การบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ

การบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ. ยุทธศาสตร์งานเอดส์ในประชากรข้ามชาติ จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต. 31 ตุลาคม 2556 ณ โรงแรมฮิป. พัฒนาการการดูแลรักษาเอชไอวีในกลุ่มประชากรข้ามชาติ.

kasi
Download Presentation

การบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริการดูแลรักษาเอชไอวีการบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ ยุทธศาสตร์งานเอดส์ในประชากรข้ามชาติ จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต 31 ตุลาคม 2556 ณ โรงแรมฮิป

  2. พัฒนาการการดูแลรักษาเอชไอวีในกลุ่มประชากรข้ามชาติพัฒนาการการดูแลรักษาเอชไอวีในกลุ่มประชากรข้ามชาติ • ในอดีต โรงพยาบาลในจังหวัดต่างๆ มีวิธีจัดการภายในเพื่อที่จะดูแลสุขภาพประชากรข้ามชาติอยู่แตกต่างกันไป บางจังหวัดมีการทำบัตรประกันสุขภาพให้ประชากรข้ามชาติเองภายในจังหวัด • โครงการ NAPHA ให้การดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส ในทุกกลุ่มประชากร • ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศ ให้การดูแลประชาชนไทย ที่มีเลข 13 หลัก • มีการทำประกันสุขภาพให้กับประชากรข้ามชาติที่ลงทะเบียน แต่ก็ไม่ครอบคลุมถึงยาต้านไวรัส และยังมีกลุ่มประชากรข้ามชาติที่ไม่ได้ลงทะเบียนอีกเป็นจำนวนมาก • มีโครงการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสสำหรับประชากรข้ามชาติ สนับสนุนโดยกองทุนโลก • ผลจากการทำงานของทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม เกิดการเปลี่ยนแปลง.......... การศึกษาทบทวนอัตราเบี้ยประกันสุขภาพสำหรับประชากรต่างด้าวที่ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 15 มกราคม 2556 LOGO

  3. Global Fund: AIDS CARES ROUND I : 2547 - 2551 Rolling Continuation Chanel : 2552 - 2554 Single Stream Funding : 2555 - 2557

  4. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ และกลุ่มทีเข้าถึงยาก จำนวน 2,700 ราย • ระยะเวลาการดำเนินงาน SSF คือ ระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2555-2557

  5. NAPHA EXTENSION

  6. กลุ่มเป้าหมาย • กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ ทั้งกลุ่มที่เคยและไม่เคยรับยาต้านไวรัส จำนวน 2,700 ราย ได้แก่กลุ่มคนไทยที่รอพิสูจน์สิทธิ กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มแรงงานข้ามชาติทั้งที่มีและไม่มีหลักประกันสุขภาพ กลุ่มผู้อพยพด้วยสาเหตุต่างๆ กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น

  7. NAPHA EXTENSION • การเข้าถึงบริการสุขภาพ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรค • ลดอัตราการตายและอัตราการเจ็บป่วยที่เกี่ยวกับเอชไอวีและเอดส์ โดยเพิ่มการเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัส และขยายการดูแลแบบครบถ้วนและการสนับสนุนด้านสังคมอย่างยั่งยืน

  8. คุณสมบัติสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการฯคุณสมบัติสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการฯ • เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือ ผู้ป่วยเอดส์ ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ • หรือ กลุ่มเข้าถึงยาก ได้แก่ กลุ่มคนไทยที่รอพิสูจน์สิทธิ กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น กลุ่ม • ชาติพันธุ์ กลุ่มแรงงานข้ามชาติทั้งที่มี และ ไม่มีหลักประกันสุขภาพ เป็นต้น • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือผู้ป่วยเอดส์ อยู่ในเกณฑ์เริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ซึ่งได้รับ • การพิจารณาโดยแพทย์ • ผู้ให้บริการได้ประเมินในด้านความพร้อมในการเข้ารับบริการการดูแลรักษาการติด • เชื้อเอชไอวี และความสามารถในการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง • ได้รับทราบการดูแลรักษาที่ได้รับและข้อจำกัดของโครงการฯ • ให้ผู้รับบริการลงนามในใบสมัครเข้าร่วมโครงการ NAPHAEXTENSION

  9. การพัฒนาการบริการ NAPHA EXTENSION • การพัฒนาระบบบริการ • การให้บริการยาต้านไวรัส • การให้บริการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูล • การติดตามผลการดำเนินงาน การนิเทศงาน • การสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย

  10. Data management Drug stock management NAPHA EXTENSION Monitoring Evaluation Lab network

  11. แนวทางการดูแลรักษาเทียบเคียงแนวทางการดูแลรักษาของประเทศNAPHA EXTENSION

  12. เกณฑ์การเริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเกณฑ์การเริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัส

  13. Service Package for ARV

  14. Service Package for Laboratory

  15. ภาพรวมข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการบริการยาต้านไวรัส ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556

  16. แผนภูมิแสดงข้อมูลผู้ป่วยต่างด้าว ได้รับการบริการยาต้านไวรัส จาก โครงการ NAPHA EXTENSION แยกตามสิทธิ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556

  17. LOGO

  18. NAPHA EXTENSION 2557 • การถ่ายโอน ผู้รับยาจาก NAPHA EXTENSION เข้าสู่ การประกันสุขภาพ • การติดตามคุณภาพการดูแลรักษา • ความต่อเนื่อง โครงการ NAPHA EXTENSION • แนวทางการดูแลรักษา ฯ ระดับประเทศ ที่มีการปรับปรุง ในปี 2013 การเริ่มยาต้านไวรัสที่ระดับ CD 4 สูงขึ้น LOGO

  19. Thailand Getting to Zero National Strategy on HIV/AIDS 2012 - 2016

  20. Vision and Goals • Vision: To get to Zero New HIV Infections • Goal for 2016: • New HIV infections reduced by two-thirds • Rate of vertical transmission of HIV less than 2% • Vision: To get to Zero AIDS-related Deaths • Goal for 2016: • Equal access to quality treatment, care, support and social protection for all people affected by HIV • Reduce AIDS related deaths by half • TB deaths among people living with HIV reduced by half • Vision: To get to Zero Discrimination • Goal for 2016: • All laws and policies which obstruct equal access to prevention, treatment and care services are revised • Human Rights and gender specific needs are addressed in all HIV responses • Stigma and discrimination of PLHIV and key affected populations reduced by half

  21. ข้อเสนอแนวทางการดูแลรักษาเอชไอวี ในการประกันสุขภาพประชากรข้ามชาติ • เทียบเคียงการบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อประกอบการพิจารณาการบริการยาต้านไวรัสในการประกันสุขภาพคนต่างด้าว • มีความครอบคลุมทั้งด้านการป้องกัน การดูแลรักษาและการส่งเสริมสุขภาพ • การจัดหายาต้านไวรัส • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การจัดหา comdom เพื่อการป้องกัน • ระบบการรายงาน LOGO

  22. เงื่อนไขของการดำเนินงาน ฯ เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย • การส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพ VCT การติดตามการรักษา • การพัฒนา พสต./อสต. ช่วยทำงานในระบบสุขภาพ • การมีส่วนร่วมในการทำงานทั้งภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาสังคม • การปรับทัศนคติของเจ้าหน้าที่ในการให้บริการแก่กลุ่มประชากรข้ามชาติ การสร้างส่วนร่วมจากชุมชน • การที่ผู้บริหารตระหนักและยอมรับ • การมีระบบฐานข้อมูลที่ดี • ระบบการติดตามผลการรักษา การส่งต่ออย่างเป็นระบบ รวมถึงการพัฒนาระบบส่งต่อเพื่อการรับการรักษาต่อเนื่องบริเวณชายแดน LOGO

  23. ขอขอบคุณ สำนักโรคเอดส์ ฯ ขอขอบคุณ คณะเจ้าหน้าที่ในหน่วยบริการ ภาคประชาสังคม เครือข่าย และอาสาสมัครในหน่วยบริการและระดัยพื้นที่ทุกแห่งที่ได้ให้การดูแลรักษา และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้มีเชื้อเอชไอวี รวมถึงประชากรต่างด้าว ที่มีข้อจำกัดในการเข้าถึงสิทธิ และเป็นผู้ป่วยที่อยู่นอกสิทธิ ระบบประกันสุขภาพ จนทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ได้รับบริการสุขภาพและทำให้กลับมามีสุขภาพดี

  24. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ

  25. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ แผ่นพับ 3 ภาษา “คุยกันเรื่องเอดส์” ภาษาไทย พม่า กัมพูชา (1 ชุด มี 4 แบบ)

  26. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) แผ่นพับ 3 ภาษา “คุยกันเรื่องเอดส์” ภาษาไทย(กางออก)

  27. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) แผ่นพับ 2 ภาษา “ ปกป้องตัวคุณ คู่ของคุณ และครอบครัวของคุณด้วยการป้องกันเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (แผ่นพับคุณทำได้ ภาษาพม่า และ ภาษากัมพูชา)

  28. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) แผ่นพับ 3 ภาษา “คุยกันเรื่องเอดส์” พม่า (กางออก)

  29. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) สื่อประกอบการให้การปรึกษา เรื่อง “ การลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ ”

  30. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) ชุดความรู้การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้โรคโดยตรง

  31. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) หนังสือมาตราฐานกรมควบคุมโรค ด้านโรคเอดส์สำหรับสถานบริกรสาธารณสุข พ.ศ. 2554

  32. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ (ต่อ) คุยกันเรื่องเอดส์

  33. ขอขอบคุณ สำนักโรคเอดส์ ฯ ขอขอบคุณ คณะเจ้าหน้าที่ในหน่วยบริหารโครงการฯ ทุกระดับ และในหน่วยบริการทุกแห่งที่ได้จัดบริการยาต้านไวรัสและบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ป่วยเอดส์ซึ่งเป็นผู้ที่มีข้อจำกัดในการเข้าถึงสิทธิ และเป็นผู้ป่วยที่อยู่นอกสิทธิ ระบบประกันสุขภาพ จนทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ได้รับบริการสุขภาพและทำให้กลับมามีสุขภาพดี

  34. Thank You !

More Related