1 / 33

แนวทางการจัดทำและพัฒนานวัตกรรม

แนวทางการจัดทำและพัฒนานวัตกรรม. นางศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ ( คศ.5 ). การเลื่อนวิทยฐาน กับการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร. 2517 ครูตรี. 2535 อ.3 ระดับ8. 2541 อ.3ระดับ9. 2551 ครูเชี่ยวชาญพิเศษ ค.ศ.5. หลักสูตรฯ 2503. หลักสูตรฯ 2524. หลักสูตรฯ 2533. หลักสูตรฯ 2544.

Download Presentation

แนวทางการจัดทำและพัฒนานวัตกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำและพัฒนานวัตกรรมแนวทางการจัดทำและพัฒนานวัตกรรม นางศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ ( คศ.5 )

  2. การเลื่อนวิทยฐาน กับการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2517 ครูตรี 2535 อ.3 ระดับ8 2541 อ.3ระดับ9 2551 ครูเชี่ยวชาญพิเศษ ค.ศ.5 หลักสูตรฯ 2503 หลักสูตรฯ 2524 หลักสูตรฯ 2533 หลักสูตรฯ 2544

  3. ผู้ใดสอนบทความตามหลักสูตรผู้ใดสอนบทความตามหลักสูตร คือผู้พูดแทนตำรากล้าขยัน ใครเฝ้าปลูกความดีทุกวี่วัน รู้ไว้เขาผู้นั้นนั่นแหละครู หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เพียงแต่สอนนั้นไซร้ไม่ลำบาก เป็นครูนั้นสิยากเป็นนักหนา เพราะต้องใช้ศิลปวิทยา อีกมีความเมตตาอยู่ในใจ

  4. หลักการจัดการเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมหลักการจัดการเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรม วิเคราะห์ความต้องการของนักเรียน,ผู้ปกครอง,ชุมชน แก้ปัญหา สร้างนวัตกรรมและ วิจัยพัฒนา วิเคราะห์สภาพปัจจุบันของโรงเรียน หลักการจัดการเรียนรู้ นำแผนไปสู่การปฏิบัติ วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำนวัตกรรม สื่อ เครื่องมือประเมินจัดทำแผนฯ วิเคราะห์เส้นทางความก้าวหน้าของนักเรียนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย

  5. P D A C งานจัดการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ งานกลุ่มสาระฯ, งานที่โรงเรียนมอบหมาย วางแผน นำไปสู่การปฏิบัติ ปฏิบัติ ตัดสินใจ ตรวจสอบ ตรวจสอบ วิเคราะห์หลักสูตร ศึกษาบทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ เทคนิคการสอน การประเมินผล สื่อ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ คุณลักษณะตรวจสอบอุปกรณ์ สารเคมี จัดห้อง Lab เตรียมความพร้อม

  6. งานจัดการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ งานกลุ่มสาระฯ, งานที่โรงเรียนมอบหมาย วางแผน นำไปสู่การปฏิบัติ ปฏิบัติ ตัดสินใจ P P P ตรวจสอบ A A D A R R ตรวจสอบ O C O ปรับ แก้ไข หรือพัฒนาด้วย PAOR ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 1

  7. รวบรวมปัญหาจากการ เรียนการสอน บันทึกหลังสอน ถูกต้อง วิเคราะห์แก้ไขพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 1. ที่มาของนวัตกรรม 2. รูปแบบนวัตกรรมและเนื้อหาสาระ เอกสารที่เกี่ยวข้อง • ข้อคิดในการพัฒนานวัตกรรม เขียนกรอบแนวคิดในการจัดทำ 4.ศึกษาค้นคว้า ผลการปฏิบัติ หรือทำกิจกรรม ตลอดภาคเรียน 3.รวบรวมข้อมูล รูปแบบงานวิจัย ผลการสอบระดับเขต O-NET ผลสอบเข้ามหาวิทยาลัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข้อมูลการประเมินผลระหว่างเรียน

  8. ผลงานทางวิชาการที่ขอเลื่อนตำแหน่ง/วิทยฐานะผลงานทางวิชาการที่ขอเลื่อนตำแหน่ง/วิทยฐานะ อ.3 ระดับ 8 เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี ชั้นมัธยมศักษาปีที่ 6 ว036(หลักสูตรฯ 2524) อ.3 ระดับ 9 1.เอกสารคำสอนวิชาเคมี ว034และ แผนการจัดการเรียนรู้ 2.การพัฒนาทักษะปฏิบัตินักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเบญจมราชาลัยฯ(หลักสูตรฯ 2533)

  9. ผลงานทางวิชาการที่ขอเลื่อนตำแหน่ง/วิทยฐานะผลงานทางวิชาการที่ขอเลื่อนตำแหน่ง/วิทยฐานะ 1. งานวิจัยเรื่องการพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบ ที่เป็นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น วิชาเคมี ว40221 เรื่องไฟฟ้าเคมี ธาตุ และสารประกอบในอุตสาหกรรม ครูเชี่ยวชาญพิเศษ (คศ.5) 2. นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบ ที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น วิชาเคมี ว40255 เรื่องอินทรีย์เคมี สารชีวโมเลกุล ถ่านหินปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ (หลักสูตรฯ 2544)

  10. งานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้นงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น นางศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญ โรงเรียนเบญจมราชาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร

  11. บทที่ 1บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาหลายหน่วยงาน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 และ 4 วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ต่ำ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ ต่ำ - ขาดกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียน คิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา

  12. บทที่ 1บทนำ (ต่อ) ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนวิชาเคมีมาเป็นเวลามากกว่า30 ปี ได้วิเคราะห์ปัญหาการสอนและมีความตระหนักว่าวิชาเคมี เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่สามารถพัฒนาผู้เรียนทั้งด้าน องค์ความรู้ ทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยใช้นวัตกรรมและเทคนิคการสอนที่เหมาะสม พัฒนาสื่อตั้งแต่ปี 2544 สื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์ แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้นในปีการศึกษา 2546 -2548

  13. วัตถุประสงค์ของงานวิจัยวัตถุประสงค์ของงานวิจัย • เพื่อพัฒนานวัตกรรม สื่อการเรียนรู้วิชาเคมี แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้ แบบกระตือรือร้น • เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรม สื่อการเรียนรู้วิชาเคมี แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้นรายวิชาเคมี สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว 40224 • 3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนวิชาเคมี สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว 40224 • เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ในการเรียนวิชาเคมี ว 40224 • เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูและนักเรียนหลังจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้วิชาเคมี แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น

  14. สมมุติฐานการวิจัย • นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบ ที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้นรายวิชาเคมี สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว40224 มีประสิทธิภาพ 80/80 • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 • ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ในการเรียนวิชาเคมี สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว40224 อยู่ในระดับร้อยละ70 • ความพึงพอใจของครูและนักเรียนหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบ ที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้นรายวิชาเคมี สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว40224 อยู่ในระดับมาก

  15. นิยามศัพท์เฉพาะ 1.นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 และ 6/3 โรงเรียนเบญจมราชาลัยฯ ปีการศึกษา 2546-48 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 2.การเรียนรู้แบบกระตือรือร้น หมายถึงการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีการตื่นตัว ได้ทำกิจกรรมหลากหลายทั้งด้านฝึกทักษะการทดลอง ทักษะการคิด และการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจทันทีที่จบหัวข้อ ตามปิรามิดการเรียนรู้ของวิธีการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น 3. นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้ แบบกระตือรือร้น หมายถึง บทเรียนแบบหน่วยสมบูรณ์แบบ ฯ เรื่องไฟฟ้าเคมี และธาตุ และสารประกอบในอุตสาหกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น

  16. ประโชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ได้นวัตกรรม สื่อการเรียนรู้วิชาเคมี แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้นที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 • นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม • ว40224สูงขึ้นจากปีการศึกษา 2547 • นักเรียนมีความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบวิชาเคมีว40224 และกิจกรรมการเรียนรู้ ในระดับมาก • เป็นประโยชน์ต่อครู้ผู้สอนวิชาเคมี สามารถนำไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ • 5. เป็นแบบอย่างของการพัฒนาผลงานทางวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน

  17. บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 1. นวัตกรรมการศึกษา 8. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. แนวคิดและความหมายของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 7. วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับสื่อการเรียน การสอน เอกสารทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. ทักษะการคิดวิเคราะห์กับการสอนคิด 4. วิธีการสอนแบบกระตือรือร้น 6. การประเมินตามสภาพจริง 5. ความพึงพอใจ

  18. 1 ศึกษาวิเคราะห์เอกสารตำราวารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษาวิธีผลิตนวัตกรรมให้มีคุณภาพที่จะพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและพฤติกรรมการเรียนรู้ที่กระตือรือร้นและสอดคล้องกับมาตรฐานของหลักสูตร ทิศทางการปฏิรูปการศึกษาและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาชาติ บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Selective sampling) จากประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนคณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์โรงเรียนเบญจมราชลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2546 – 2548 จำนวน 283 คน

  19. 3 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) 3. องค์ประกอบของแต่ละหน่วย 3.1 เนื้อหา/สาระสมบูรณ์ครบถ้วนตามหลักสูตรมีภาพประกอบเข้าใจชัดเจน 3.2 กิจกรรมการทดลองมีวิธีการทดลองภาพประกอบบันทึกผลคำถามเพื่อวิเคราะห์และสรุปผลการทดลองการสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง 3.3 กิจกรรมตรวจสอบความรู้ความเข้าใจและทักษะการคิดวิเคราะห์ที่เป็นแบบเขียนตอบฝึกทักษะการใช้ภาษาในการสื่อสารความเข้าใจมีประมาณ 4 – 8 กิจกรรม 3.4 แบบทดสอบท้ายหน่วยเป็นแบบเลือกตอบโดยนำข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ตรงกับหน่วยนั้นเตรียมสอบO-NET และA-NET กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. พัฒนานวัตกรรมเป็นสื่อการเรียนแบบหน่วยสมบูรณ์แบบฯ 2. แบ่งเนื้อหาในแต่ละบทเป็นหน่วยบทละ 5 – 8 หน่วย

  20. 4 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) การแก้ปัญหาปีการศึกษา 2547 พัฒนารวมเป็นเล่ม 4 เล่ม แนวทางการพัฒนานวัตกรรม วิเคราะห์เอกสารและตำราที่เกี่ยวข้อง เล่มที่ 1 เนื้อหา/สาระแบ่งเป็น 9 หน่วย เล่มที่ 2 กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจและทักษะการคิดวิเคราะห์ทุกหัวข้อย่อยของแต่ละหน่วย เล่มที่ 3 คุ่มือปฏิบัติการ เล่มที่ 4 เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยมีบทสรุปและข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546จัดทำเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี ว 035 แจกก่อนสอน ปัญหา - ใช้เวลาแจกเอกสารมาก - นักเรียนทำเอกสารหาย - ทิ้งเอกสารไว้ในห้องเรียน - ส่งการบ้านช้า - ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์

  21. บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) การพัฒนา ปีการศึกษา 2548 ปัญหา ปี 2547 1 ตรวจการบ้านที่เป็นกิจกรรมการทดลองและกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจทักษะการคิดวิเคราะห์ไม่ทันที่จะสอนชั่วโมงต่อไป ปรับรหัสจาก ว 035 เป็น ว 40224 มี 2 เรื่อง 2 นักเรียนลืมนำเอกสารเล่มที่จะใช้เรียนมา ทำให้การเรียน การสอนไม่ราบรื่น • ไฟฟ้าเคมี • มี 5 หน่วย • ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม • มี 8 หน่วย

  22. บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) 1. ชื่อหน่วย 6. ผังความคิดประจำหน่วยเห็นความสัมพันธ์ ของหน่วยหัวข้อหลักหัวข้อรองและหลักการที่เกี่ยวข้อง 2. สาระการเรียนรู้ ระบุวิธีศึกษา และหัวข้อ 7. หัวข้อ/เนื้อหา มีภาพประกอบ 8. จบหัวข้อย่อย ตรวจสอบความเข้าใจ ทันทีโดยใช้เทคนิค เพื่อนคู่คิด เป็นแบบเขียนตอบ 3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังประจำหน่วย ส่วนประกอบ ของแต่ละหน่วย 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกให้ ผู้เรียนรู้ว่าต้องทำอะไรได้ 9. มีกิจกรรมการทดลอง คำถามและข้อสรุป 10. แบบทดสอบท้ายหน่วยเป็นตัวอย่างข้อสอบ เข้ามหาวิทยาลัยเตรียมสอบO-NET, A-NET 5. ลำดับแนวความคิดสำคัญในหน่วย เห็นความต่อเนื่องสอดคล้อง

  23. บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) 5 ทดลองใช้กับกลุ่มย่อย5 คน ปรับแก้ไขและนำไปใช้กับกลุ่มย่อย 10คน การหาคุณภาพ สื่อนวัตกรรม ปรับปรุง ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ หาประสิทธิภาพของนวัตกรรม กับกลุ่มใหญ่ก่อนนำไปใช้จริง ได้ ปรับปรุงแก้ไขและนำไปใช้กับกลุ่มใหญ่ 30 คน

  24. 6 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบสำรวจความพึงพอใจของนักเรียน แบบสำรวจความพึงพอใจของครูที่ใช้นวัตกรรม บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) เครื่องมือที่ใช้หาประสิทธิภาพของนวัตกรรม

  25. 7 8 เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปีการศึกษา 2546 – 2548 จากกลุ่มตัวอย่างและครูที่ใช้นวัตกรรม บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล • เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนทดลองและหลังทดลองและหลังการพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น วิชาเคมีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยค่าสถิติ t-test • วิเคราะห์ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ในการเรียนวิชาเคมีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยใช้นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น โดยใช้ค่าร้อยละ

  26. 8 x x บทที่ 3 วิธีดำเนินการ(ต่อ) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้(ต่อ) • วิเคราะห์ความพึงพอใจของครูและนักเรียนโดยใช้ค่าเฉลี่ย( ) • และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) • สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าเฉลี่ย( )ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรKuder-Richardson วิเคราะห์ความยากง่าย(P) • และค่าอำนาจจำแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • - ค่าดรรชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC) • - ค่าดรรชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับระดับพฤติกรรม (IOA) • - ค่าความเชื่อมั่นของแบบสำรวจความพึงพอใจ ใช้ความเชื่อมั่นของครอนบาค • - หาประสิทธิภาพของสื่อนวัตกรรม (E1/E2)

  27. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 3 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการคิดวิเคราะห์พบว่านักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์มีค่าร้อยละ 78.77 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (ร้อยละ 70) ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพบว่าคะแนนเฉลี่ยระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของนวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมบูรณ์แบบที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น พบว่ามีประสิทธิภาพ80/85 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (80/80)

  28. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของครูอยู่ในระดับมาก ส่วนนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ผลการวิเคราะห์ข้อมูล(ต่อ) ตอนที่ 5 ข้อสรุปที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพบว่า 1.นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนดีขึ้น ทั้งการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามข้อกำหนดเพิ่มขึ้นและนักเรียนลืมนำสื่อเอกสารมาใช้ในชั่วโมงเรียนลดลง 2.นักเรียนสอบผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ผู้วิจัยตั้งเกณฑ์ไว้ร้อยละ 70 สอบผ่านได้มากขึ้น

  29. บทที่ 5 สรุปการวิจัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5. นักเรียนมีความพึงพอใจ 4. ครูมีความพึงพอใจ ในการใช้นวัตกรรม 3. นักเรียนมีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ ร้อยละ 78.77 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1. ประสิทธิภาพของ นวัตกรรม

  30. อภิปรายผล บทที่ 5 สรุปการวิจัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ พบว่าผลการวิจัยสอดคล้องกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องทุกวัตถุประสงค์ของการวิจัยและสอดคล้องกับวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกระตือรือร้นความพึงพอใจซึ่งส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านความรู้(K) ทักษะ (P) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นอกจากนี้ยังทำให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ในระดับดีและมีพฤติกรรมการเรียนที่ดี

  31. ข้อเสนอแนะ การเผยแพร่ บทที่ 5 สรุปการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ • ควรวิจัยในลักษณะเช่นนี้กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ หรือ ใช้ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนซึ่งจะเกิดทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล • ควรมีการวิจัยเรื่องการใช้กระบวนการทางปัญญาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดปัญญาในรายวิชาเคมีและรายวิชาอื่น ๆ ได้เผยแพร่แก่โรงเรียนต่าง ๆ และใช้ในการอบรมครูของเขตพื้นที่การศึกษาทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด

  32. การพัฒนาผลงานทางวิชาการการพัฒนาผลงานทางวิชาการ เลือกวิธีแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน ต้องมีเพื่อนคู่คิด ที่ปรึกษา นำผลงาน ที่มีอยู่แล้ว ประยุกต์, พัฒนา เพิ่มคุณภาพ ให้เน้นนวัตกรรม ปรับให้ถูกต้อง ตามรูปแบบผลงาน ทางวิชาการ วางแผนพัฒนา เลือกให้เหมาะสม กับข้อมูลที่มี และความถนัด ศึกษาตัวอย่าง หลายๆ ตัวอย่าง

  33. สวัสดี

More Related