380 likes | 812 Views
การประชุมยกระดับคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2556 “Ban Fang Model” กลุ่มสถานศึกษาที่ 13, 14, 15 14 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00-12.00 น. ณ หอประชุมโรงเรียนชุมชนบ้านฝาง สพป. ขอนแก่น เขต 1. โดย ดร.พงษ์ศักดิ์ ภูกาบขาว รอง ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ.
E N D
การประชุมยกระดับคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2556“Ban Fang Model”กลุ่มสถานศึกษาที่ 13, 14, 1514 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00-12.00 น.ณ หอประชุมโรงเรียนชุมชนบ้านฝาง สพป.ขอนแก่น เขต 1 โดย ดร.พงษ์ศักดิ์ ภูกาบขาว รอง ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
“Ban Fang Model” …… ? แนวคิดหลัก ระบบการยกระดับคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ Best Practice
“Ban Fang Model” …… ? แนวคิดหลัก ระบบการเรียนรู้ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบการบริหารจัดการ
“Ban Fang Model” …… ? หลักการ / กลวิธี B – Balance: ความสมดุล 1. ใช้หลักความสมดุล (สังคมแห่งความสมดุล) พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างสมดุล ทั้ง 8 กลุ่มสาระ สร้าง สมดุลในจุดเน้นแห่งปี “ยกระดับผลสัมฤทธิ์ เนรมิตสีสัน ยึดมั่นในคุณธรรม ก้าวนำสู่ความเป็นหนึ่ง” 2. อย่าสุดโต่ง ความเสมอภาค (กระจายงาน งบ) ไม่เลือก ปฏิบัติกับนักเรียน ห้องเรียนแห่งความสมดุล “ปริยัติ + ปฏิบัติ ปฏิเวทย์”
“Ban Fang Model” …… ? หลักการ / กลวิธี F – Fun: การสร้างความสุข กระบวนการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเกิดความสุขในการเรียน ไม่เน้นการแข่งขัน Fast: ความรวดเร็ว เน้นการดำเนินงานอย่างเร่งด่วน ไม่ชักช้า อะไรทำได้ให้ทำทันที และทำให้เสร็จจนครบทุกงาน M – Modern ความทันสมัย สร้างตัวอย่าง แบบอย่าง (Model) พัฒนาให้ทันสมัย นำสมัย
ภารกิจ/หน้าที่ของวิชาชีพครูภารกิจ/หน้าที่ของวิชาชีพครู อาชีพครู..........เป็นอาชีพเดียวที่ “สร้าง......ทำลาย.....สิ่งที่รัก มีค่าที่สุด ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง”
ต้นทุน...ศักยภาพครู/นักบริหาร/ศึกษานิเทศก์ต้นทุน...ศักยภาพครู/นักบริหาร/ศึกษานิเทศก์ 1. Degree Capital 2. Intellectual Capital 3. Social-Network Capital ตามแนวคิด รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์มสธ. (2555)
หลักการร่วม....... 1. เดินทางด้วยปัญญา 2. ตัดสินใจด้วยข้อมูลสารสนเทศ
ผลผลิต / Product คุณภาพบุคลากร คุณภาพสถานศึกษา คุณภาพผู้เรียน
เป้าประสงค์/ Out come(สูงสุด) การพัฒนา........คุณภาพตน การพัฒนา........ คุณภาพคน การพัฒนา........ คุณภาพงาน
ปัญหาของระบบการศึกษาไทย(สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยสนับสนุนโดย สพฐ.) • ระบบการศึกษาใช้ทรัพยากรมากแต่ผลสัมฤทธิ์ต่ำ • ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับสูง • ระบบการเรียนการสอนไม่เหมาะสมกับบริบทของศตวรรษที่ 21
คะแนนนักเรียนไทยต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้านคะแนนนักเรียนไทยต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้าน PISA 2009 TIMSS 2007
ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพระหว่างภูมิภาคความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพระหว่างภูมิภาค TIMSS 2007 O-NET 2552
หัวใจของการปฏิรูป • คนไทยอ่านหนังสือ ปีละ 8 บรรทัดจริงหรือ? • เด็กไทยเรียนหนักจริงหรือ? • เด็กไทยเรียนหนักผลสัมฤทธิ์ต่ำเพราะเหตุใด? • เด็กไทย 7 ล้าน อินโดนีเซีย 17 ล้าน ครูเท่ากัน?
หัวใจของการปฏิรูป • การสร้างระบบความรับผิดชอบ (accountability) เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา • การปรับหลักสูตร สื่อการสอน และการพัฒนาครู เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับบริบทของศตวรรษที่ 21 • ลดความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษา โดยปรับการจัดสรรงบประมาณ และให้ความช่วยเหลือโรงเรียน ครูและนักเรียนที่มีปัญหา
เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 • สาระวิชาหลัก • - Reading (การอ่าน) • - ’Riting (การเขียน) • - ’Rithmatic (การคำนวณ) • ความรู้เชิงบูรณาการ • โลกการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการสิทธิพลเมืองสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม • ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม • - การคิดสร้างสรรค์ • - การแก้ไขปัญหา • - การสื่อสาร-ร่วมงานกับผู้อื่น • ทักษะชีวิตและการทำงาน • - การปรับตัว • - ทักษะสังคม • - การเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม • - ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี คุณลักษณะด้านการทำงาน การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง
การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหม่การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหม่ • - เน้นแนวคิดหลักและคำถามสำคัญในสาระการเรียนรู้ • เรียนรู้ผ่านโครงงานและการทำงานเป็นทีม • สนับสนุนการใช้ ICT ในการหาความรู้ด้วยตนเอง
สภาพปัญหาในปัจจุบัน ล้าสมัย ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ ไม่ช่วยสร้างความรับผิดชอบ ไม่เป็นธรรมระหว่าง รร.รัฐ-เอกชน ลดความแตกต่างของพื้นที่ได้น้อย ข้อสอบไม่ได้มาตรฐาน เน้นวัดเนื้อหามากกว่าความเข้าใจ ขาดการประเมินอื่นที่เชื่อถือได้ ไม่ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์นัก ไม่เชื่อมโยงกับผลการเรียน เสี่ยงต่อการเล่นพวกพ้อง
แนวทางการปฏิรูปในระดับสถานศึกษาแนวทางการปฏิรูปในระดับสถานศึกษา โรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการปรับเปลี่ยน มีอิสระในการบริหาร หลักสูตรเฉพาะโรงเรียน รัฐจัดงบประมาณที่เพียงพอ และช่วยเหลือด้านความรู้ หลักสูตรเฉพาะท้องถิ่น ตามแนวทางทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มีความยืดหยุ่น ไม่ใช่แค่การทดสอบ ความอิสระใน การบริหารจัดการ ของโรงเรียน ประเมินผลงานครู เพื่อพัฒนาคุณภาพ เลือกรูปแบบการพัฒนาและเรียนรู้ งบประมาณและการสนับสนุนทางวิชาการที่เพียงพอจากรัฐ ประเมินคุณภาพเพื่อพัฒนา เน้นกระบวนการ และทำงานร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน
ระบบการประเมินผู้เรียนระบบการประเมินผู้เรียน แฟ้มงาน โครงงาน การสอบวัดความรู้ การแก้ปัญหาชีวิตจริง ปฏิรูปให้เป็น Literacy-based test เพื่อพัฒนาคุณภาพ (Formative/Low stake) เพื่อสร้างความรับผิดชอบ (Summative/High stake)
สิงคโปร์ มอบหนังสือก่อนปิดเทอม (ให้การบ้านนักเรียน 3 ข้อ) 1. อ่านสารบรรณทันทีทุกเล่ม 2. เรื่องใดศึกษาได้ให้ศึกษาทันที อย่าให้ถึงมือครู 3. กำหนดปฏิทินการเรียนของตนเอง (แผนการเรียน)
เวียตนาม ครูให้การบ้านนักเรียนเหมือนกันทุกวัน 5 ข้อ 1. เขียนรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตนเอง 2. เขียนรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับครอบครัว 3. เขียนรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับชุมชน 4. เขียนรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับประเทศ 5. เขียนรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับโลก
ทฤษฎีการเรียนรู้ การพัฒนาคุณลักษณะบุตรหลานจากอิทธิพล 1. ครอบครัว 60 % 2. โรงเรียน 20 % 3. สังคมสิ่งแวดล้อม 20 %
โรงเรียนต้อง มีโครงการให้บริการสังคม ชุมชน ในด้านการดูแลรักษาบ้าน ชุมชน สังคม
Ban Fang Model ปีการศึกษา 2555 เราได้ทำอะไร 1. เข้าค่ายวิชาการ O-NET (8+1) ณ พงษ์ภิญโญ 2 และบ้านโนนค้อ 18-29 ม.ค.55 2.เตรียมรับประเมินรอบสาม 2555 9 โรง 3. แข่งขันทักษะทางวิชาการอ่าน เขียน มัคนายกน้อย 21 ก.พ.56 ณ โรงเรียนชุมชนบ้านฝาง 4. เตรียมการประเมินรอบสาม2556 8 โรง 8 มี.ค.56 ณ โสกม่วงดอนดู่
Ban Fang Model ปีการศึกษา 2555 เกิดอะไรขึ้น “เราภาคภูมิใจ” 1. ผลสอบ O-NET 2555 2.ผลการประเมินรอบสาม 2555 9 โรง 3. ผลการแข่งขันวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2555 4. รางวัล “หนึ่งแสนครูดี 2555” 5. รางวัล “โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน บ้านกระเดื่อง” ชนะเลิศระดับภาค และอันดับที่ 2 ระดับประเทศ 6. รางวัลอื่น ๆ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพ Ban Fang Model เดินทางด้วยปัญญา (Wisdom) ตัดสินใจด้วยข้อมูลสารสนเทศ (Information) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตั้งเป้าหมาย นโยบาย จุดเน้น นวัตกรรม วิจัย รูปแบบ เทคนิค/วิธีการ ฯลฯ (รร.1 ผู้บริหาร 1 ครู 1) คุณภาพโรงเรียน กลุ่ม 13 (12) Best Practice ระดับสถานศึกษา/กลุ่ม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/นำเสนอผลงานประจำปี(Ban Fang Model) แผนปฏิบัติการ คุณภาพนักเรียน กลุ่ม 14 (14) สพป.ขอนแก่น เขต 1 กลุ่ม 15 (8) แผนการนิเทศการศึกษา คุณภาพบุคลากร มาตรฐาน : พัฒนาตน + พัฒนาคน + พัฒนางาน
แผนพัฒนา/แผนปฏิบัติการ/แผนการนิเทศแผนพัฒนา/แผนปฏิบัติการ/แผนการนิเทศ “ใช้นิเทศเป็นเครื่องมือการบริหาร” - ภายนอก โดยทีมกลุ่มสถานศึกษา + เขต - ภายใน โดย ผอ.+รอง ผอ.+ครูนิเทศกันเอง นวัตกรรมการนิเทศ โดยใช้จุดเน้น ความต้องการ เป็นฐาน โดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน โดยโครงการ เป็นฐาน
Final Indicator 1. โรงเรียนกำหนดเป้าหมายแผนงานประจำปี (แผนปฏิบัติการ) พัฒนาให้เกิด Best Practice (self–management) - โรงเรียน 1 ชิ้น (ทีม) - ผู้บริหาร 1 ชิ้น - ครู 1 ชิ้น 2. โรงเรียนคัดเลือก Best Practice ส่งกลุ่มสถานศึกษา 3. กลุ่มสถานศึกษาคัดเลือก Best Practice ส่ง Ban Fang Model 4. นำเสนอผลงานเวที Ban Fang Model 5. ประกาศเกียรติคุณ มอบรางวัล+ขวัญกำลังใจ+มีวิทยฐานะเพิ่ม
Final Indicator 1. สร้างระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อรับประเมินภายนอก 2. การยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. นโยบาย จุดเน้น เบญจลักษณ์ 5 คุณลักษณะของนักเรียน สพป.ขอนแก่น เขต 1 1. มีคุณธรรม จริยธรรม รักษ์ความเป็นไทย 2. อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น 3. คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และคิดเชิงบวก 4. พูดภาษาอังกฤษได้ ใช้ ICT เป็น 5. มีทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
เบญจลักษณ์ 5 คุณลักษณะของนักเรียน สพป.ขอนแก่น เขต 1 1. มีคุณธรรม จริยธรรม รักษ์ความเป็นไทย : 1.ผู้เรียนมีคุณธรรม 2.ผู้เรียนมีจริยธรรม 3.ผู้เรียนรักษ์ความเป็นไทย 2. อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น : 4.ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน 5.ผู้เรียนมีทักษะในการเขียน 6.ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด(คำนวณ)เลขเป็น 3. คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และคิดเชิงบวก : 7.ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ 8.ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิดสังเคราะห์ 9.ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิดเชิงบวก 4. พูดภาษาอังกฤษได้ ใช้ ICT เป็น : 10.ผู้เรียนมีความสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ 11.ผู้เรียนมีความสามารถใช้ ICT 5. มีทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ : 12.ผู้เรียนมีทักษะชีวิต 13.ผู้เรียนมีความสามารถด้านทักษะอาชีพ 14.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ทีมงาน Ban Fang Model • กลุ่มที่ 13 ดร.วิเศษ พยุง อัจจชิญา พงษ์ศักดิ์ วราวุธ ธนกิจ • กลุ่มที่ 14 ดร.วิเศษ พงษ์ศักดิ์ วราวุธ ธนกิจ พยุง อัจจชิญา • กลุ่มที่ 15 ดร.นฤชล ธนกิจ พยุง อัจจชิญา พงษ์ศักดิ์ วราวุธ
ม.ล.ปิ่น มาลากุล • กล้วยไม้มีดอกช้า ฉันใด...การศึกษาเป็นไป เช่นนั้น...แต่ดอกออกคราวไร งามเด่น...งานสั่งสอนปลูกปั้น เสร็จแล้ว แสนงาม...
งานศิลปหัตถกรรมระดับภูมิภาค และประเมินรอบ 3 1. โรงเรียนที่เข้าร่วมจัดกิจกรรมนิทรรศการผลงานการจัดการศึกษา 1. โรงเรียนบ้านงิ้ว “กระจกถมทองคำเปลว” 2. โรงเรียนบ้านแดงใหญ่ “เบญจรงค์ไทยอีสาน” 3. โรงเรียนพงษ์ภิญโญ 2 “การถักเชือกปอเป็นรูปสัตว์” 4. โรงเรียนบ้านโสกแต้ “ศิลปะจากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น” 2. โรงเรียนที่รับการประเมินรอบ 3 1. โรงเรียนเขื่อนกระพี้ศึกษา 2. โรงเรียนบ้านแดงราษฎร์สามัคคี 3. โรงเรียนแก่นเท่าพัฒนศึกษา 4. โรงเรียนหินกองวิทยา 5. โรงเรียนโนนฆ้องวิทยาคาร 6. โรงเรียนบ้านหินตั้งหนองอีเลิง 7. โรงเรียนหินฮาวคุรุประชาสรรค์ 8. โรงเรียนโคกใหญ่ประชารัฐวิทยา 9. โรงเรียนบ้านแก่นเท่า
กำหนดการประชุม ............................................................................................................................. เวลา 13.00 – 14.00 น. พิธีเปิด/นโยบาย สพป.ขอนแก่น เขต 1 โดย ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต 1 เวลา 14.00 – 15.00 น. การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดย ดร.วิเศษ พลอาจทัน รอง ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต 1 ดร.นฤชล ไหลงาม รอง ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต 1 เวลา 15.00 – 16 -00 น. การวางแผนพัฒนา/แผนปฏิบัติการ/แผนปฏิบัติการนิเทศ การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2556 โดย ดร.พงษ์ศักดิ์ ภูกาบขาว และนายวราวุธปัทถาพงษ์ เวลา 16.00 – 16.30 น. การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสู่ Best Practice โดยใช้รูปแบบ “การสร้างแรงบันดาลใจ” (Inspiring) โดย ดร.ธนกิจ ไชยมาดี และนายพยุง มูลตรีภักดี เวลา 16.30 – 17.00 น. อภิปราย ซักถามและปิดการประชุม