1 / 47

ความรู้เกี่ยวกับ การทำงานเป็นทีม

ความรู้เกี่ยวกับ การทำงานเป็นทีม. ความหมายของการทำงานเป็นทีม. การทำงานเป็นกลุ่มบุคคล ( work team ) คือการทำงานโดย บุคคลหลายคน โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน และมีการแบ่งสรร หน้าที่กันแล้วแต่ละคนมีความพึงพอใจในหน้าที่ของตน การทำงานเป็นทีม ( team work ) คือกลุ่มบุคคลที่มีการ

karsen
Download Presentation

ความรู้เกี่ยวกับ การทำงานเป็นทีม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเป็นทีมความรู้เกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม

  2. ความหมายของการทำงานเป็นทีมความหมายของการทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นกลุ่มบุคคล (work team) คือการทำงานโดย บุคคลหลายคน โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน และมีการแบ่งสรร หน้าที่กันแล้วแต่ละคนมีความพึงพอใจในหน้าที่ของตน การทำงานเป็นทีม (team work) คือกลุ่มบุคคลที่มีการ ประสานงานกัน วางแผนงานร่วมกัน ร่วมมือกัน สามัคคี มีเป้าหมายร่วมกัน และเชื่อใจกัน

  3. ประโยชน์ของการทำงานเป็นทีมประโยชน์ของการทำงานเป็นทีม 1. ผลงานย่อมสูงกว่าคนเดียวทำ 2. ผลสำเร็จเป็นของทีมงาน 3. มีความรู้สึกที่ดี 4. เกิดพลัง

  4. ความสำคัญของการทำงานเป็นทีมความสำคัญของการทำงานเป็นทีม 1. งานบางชนิดไม่สามารถทำสำเร็จเพียงคนเดียว 2. หน่วยงานมีงานเร่งด่วนที่ต้องการระดมกำลังคน 3. เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ความสามารถจากหลายฝ่าย 4. งานบางชนิดเป็นงานที่มีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ 5. เป็นงานที่ต้องการความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6. หน่วยงานต้องการสร้างบรรยากาศของความสามัคคีให้ เกิดขึ้น

  5. ลักษณะที่ดีของการทำงานเป็นทีมลักษณะที่ดีของการทำงานเป็นทีม 1. บรรยากาศภายในกลุ่มควรอบอุ่นและเป็นมิตรต่อกัน 2. สมาชิกทุกคนเข้าใจวัตถุประสงค์ของกลุ่มตรงกัน 3. สมาชิกสนทนาและปรึกษาในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม 4. สมาชิกโต้แย้งกันด้วยเหตุผลและหลักการ ไม่นำความรู้สึก ส่วนตัวและอคติมาเกี่ยวข้อง 5. แม้มีการขัดแย้งกันในด้านความคิด แต่สมาชิกทุกคนยังเต็ม ใจที่จะเป็นส่วนรวมของกลุ่ม

  6. ลักษณะที่ดีของการทำงานเป็นทีมลักษณะที่ดีของการทำงานเป็นทีม 6. การพิจารณาความ มุ่งสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาในการ ทำงาน ไม่เป็นการวิจารณ์เรื่องส่วนตัว 7. การตัดสินใจดำเนินการของกลุ่มเป็นไปโดยความเห็น ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่บนพื้นฐานของความถูกต้องและ ความดี 8. ทุกคนยอมรับในความสามารถของกันและกัน 9. ผู้นำและผู้ร่วมงานไม่บีบบังคับซึ่งกันและกัน 10. มีการตรวจสอบการทำงานของทีมเป็นระยะ ๆ

  7. ความแตกต่างของมนุษย์ที่ต้องคำนึงถึงความแตกต่างของมนุษย์ที่ต้องคำนึงถึง 1. เพศ 2. วัย 3. การศึกษา ความสามารถ ประสบการณ์ 4. ความเชื่อ 5. รสนิยม 6. รูปร่าง 7. สิ่งแวดล้อม

  8. องค์ประกอบของทีม 1. วัตถุประสงค์(objective) 2. ระบบทีม(team organization) 3. สมาชิกทีม(team member) 4. ผู้นำทีม(team leader) 5. อำนาจความรับผิดชอบ(authorization)

  9. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทีมปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทีม 1. ความขัดแย้ง 6. การเสียสละ 2. ความจริงใจ 7. ความแตกต่าง 3. ผลประโยชน์ 8. เรื่องส่วนตัว 4. การมีส่วนร่วม 9. ประสบการณ์ 5. การนำเสนอ 10. การใช้คำพูด

  10. สาเหตุของการเกิดข้อขัดแย้งของทีมสาเหตุของการเกิดข้อขัดแย้งของทีม 1. ประสบการณ์ส่วนบุคคล 2. การเปลี่ยนแปลงไปจากปกติวิสัย 3. ศักดิ์ศรีแห่งตน(เสียหน้า/ไม่กลัวเสียหาย) 4. การถกเถียง 5. ขาดข้อมูลสนับสนุน

  11. การขจัดข้อขัดแย้งของทีมการขจัดข้อขัดแย้งของทีม 1. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นเต็มที่ 2. หลีกเลี่ยงการพูดเรื่องส่วนตัว 3. มุ่งประเด็นไปที่ข้อขัดแย้ง 4. อย่าใช้ภาษาดูถูก หลีกเลี่ยงการเสียดสี 5. เคารพความคิดเห็นและประสบการณ์ 6. ยึดหลักเหตุผล ใช้หลักฐานข้อมูล

  12. อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากผู้นำทีมอุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากผู้นำทีม 1. ขาดการวางแผน/แนวทางปฏิบัติ 2. ไม่มีการแบ่งงาน/กระจายงานที่ชัดเจน 3. คำสั่งที่ไม่ชัดเจน/เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ 4. ขาดการติดตามงานที่ดี 5. ขาดการสอนงาน การแนะแนวทาง

  13. อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากผู้นำทีมอุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากผู้นำทีม 6. ไม่ได้แบ่งงานตามความถนัด 7. ขั้นตอนปฏิบัติงานไม่ชัดเจน 8. ขาดการประสานงานหรือผู้รับผิดชอบ 9. ขาดการควบคุมคุณภาพระหว่างปฏิบัติงาน 10. ไม่ได้คำนึงถึงความพร้อมหรือปัจจัยสำคัญ

  14. อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากสมาชิกในทีมอุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากสมาชิกในทีม 1. ขาดความร่วมมือร่วมใจ 2. ไม่ตระหนักถึงการวางแผนร่วมกัน 3. รับคำสั่งปราศจากการทบทวน 4. ไม่ถามเมื่อสงสัย 5. ขาดการเรียงลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน

  15. อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากสมาชิกในทีมอุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากสมาชิกในทีม 6. ขาดความชำนาญ ผู้ชำนาญในทีม 7. ไม่กำหนดเวลางานแล้วเสร็จ/บรรลุ 8. ขาดการสอนงานกันเอง 9. ไม่ยอมรับกันภายในกลุ่ม 10. ไม่เพิ่มพูนความรู้ภายในทีม

  16. มนุษยสัมพันธ์ กับการทำงานเป็นทีม

  17. แนวทางในการศึกษามนุษยสัมพันธ์แนวทางในการศึกษามนุษยสัมพันธ์ • การเข้าใจตัวเอง • การเข้าใจผู้อื่น • การเข้าใจสังคม • การเข้าใจโครงสร้างของหมู่คณะ • การเข้าใจหลักการและวิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์

  18. มนุษยสัมพันธ์ รู้จักตนเอง เข้าใจผู้อื่น ศึกษาองค์การ วิเคราะห์ตนเอง วิเคราะห์ผู้อื่น วิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ ยอมรับธรรมชาติของผู้อื่น ปรับปรุงองค์การและปรับตัวให้เข้ากับองค์การ ปรับปรุงตนเอง พัฒนาตนให้เข้ากับผู้อื่นและองค์การ มนุษยสัมพันธ์ ตนเองเป็นสุข ผู้อื่นเป็นสุข องค์การมีประสิทธิภาพ สังคมเป็นสุขและมีประสิทธิภาพ

  19. การเข้าใจตนเอง ความแตกต่างของมนุษย์เกิดจาก 1. ค่านิยม (Values) 2. การรับรู้ (Perception) 3. ทัศนคติ (Attitudes) 4. บุคลิกภาพ (Personality)

  20. การเข้าใจผู้อื่น วิธีการศึกษาบุคคล 1. การสืบประวัติ 2. ค้นคว้าจากตำรา แล้วนำมาเป็นหลักวิจัยบุคคล 3. การสัมภาษณ์ ปราศรัย และสนทนา 4. การสังเกต 5. จากผลงานที่ผ่านมา และการปฏิบัติงานร่วมกัน

  21. นิสัยสามัญของมนุษย์ 1. ทุกคนไม่ชอบให้ใครตำหนิ 2. ทุกคนอยากมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ 3. ทุกคนจะทำอะไรสำเร็จเมื่อมีความต้องการ 4. ทุกคนสนใจตนเองมากกว่าสนใจผู้อื่น 5. ทุกคนชอบคนยิ้มแย้มแจ่มใสมากกว่าหน้าบึ้ง 6. ทุกคนมีความสนใจในชื่อของตนเอง 7. ทุกคนต้องการให้ผู้อื่นฟังเมื่อตนพูด

  22. นิสัยสามัญของมนุษย์ 8. ทุกคนชอบให้ผู้อื่นพูดเรื่องที่ตนสนใจ 9. ทุกคนไม่ชอบให้ใครโต้เถียง 10. ทุกคนอยากให้ผู้อื่นยอมรับความคิดของตน 11. ทุกคนชอบเห็นการยอมรับเมื่อทำผิด 12. ทุกคนต้องการความเป็นกันเอง 13. ทุกคนคิดว่าความคิดของตนเป็นสิ่งที่ดี

  23. เทคนิคการชนะใจผู้อื่นเทคนิคการชนะใจผู้อื่น 1. อย่าตำหนิ ประณาม หรือพร่ำบ่น 2. จงยกย่องสรรเสริญอย่างจริงใจ 3. จงเอาใจใส่อย่างแท้จริงต่อผู้อื่น 4. ยิ้ม 5. จงจำชื่อผู้อื่นและเรียกให้ถูกต้อง 6. จงเป็นนักฟังที่ดี

  24. เทคนิคการชนะใจผู้อื่นเทคนิคการชนะใจผู้อื่น 7. สนทนาในเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งสนใจ 8. ระงับ หรือหลีกเลี่ยงการโต้เถียง 9. จงเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น 10. จงมีความรับผิดชอบ 11. จงพูดถึงความผิดของท่านก่อนที่จะตำหนิผู้อื่น 12. จงสนับสนุนให้กำลังใจ ไม่ใช่ซ้ำเติม

  25. การสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากรในทีมงาน • ในการทำงานเป็นทีมจะมีบุคคลเกี่ยวข้องอยู่ 4 กลุ่ม ได้แก่ • ผู้บังคับบัญชา • ผู้ใต้บังคับบัญชา • เพื่อนร่วมงาน • บุคคลภายนอก หรือสังคม

  26. การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชาการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา • รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเอง • รู้จักส่งเสริมให้กำลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา • รู้จักยกย่องชมเชยให้บำเหน็จความชอบ • หลีกเลี่ยงการขู่บังคับ • ชี้แจงความเคลื่อนไหวในวงงานให้ทราบ • รักษาผลประโยชน์ของผู้ใต้บังคับบัญชา

  27. การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา • เรียนรู้นิสัยผู้บังคับบัญชา • ทำงานให้ดี หลีกเลี่ยงการประจบสอพลอ • หาทางทำให้ความคิดของผู้บังคับบัญชาบังเกิดผล • ให้ความเคารพยกย่องผู้บังคับบัญชาตามฐานะ • อย่ามีเรื่องกับเพื่อนร่วมงาน • อย่ารบกวนผู้บังคับบัญชาในเรื่องเล็กน้อย • เข้าหาผู้บังคับบัญชาให้เหมาะสมกับโอกาสและเวลา

  28. การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา 8. อย่านินทาผู้บังคับบัญชา 9. แสดงความขอบคุณเมื่อผู้บังคับบัญชาปฏิบัติดีด้วย 10. สรรเสริญคุณความดีของผู้บังคับบัญชาในโอกาสอันควร 11. อย่าบ่นถึงความยากลำบากในการปฏิบัติงาน ต่อหน้าผู้บังคับบัญชา 12. อย่าโกรธผู้บังคับบัญชาเมื่อท่านไม่เห็นด้วยกับความคิดของเรา 13. ประเมินตนเองเป็นระยะ ๆ

  29. การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน/บุคคลภายนอกและสังคมการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน/บุคคลภายนอกและสังคม • เปิดฉากติดต่อทักทายก่อน • มีความจริงใจ • หลีกเลี่ยงการนินทา • อย่าซัดทอดความผิด • ยกย่องชมเชยในสิ่งที่สมควร • ให้ความร่วมมือในการงานของเขาด้วยความเต็มใจ • ให้เขาได้ทราบเรื่องที่เขารับผิดชอบหรือเกี่ยวข้อง

  30. การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน/บุคคลภายนอกและสังคมการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน/บุคคลภายนอกและสังคม 8. ฟังความคิดเห็นของเขาบ้าง 9. หลีกเลี่ยงการทำตัวเหนือกว่า 10. ทำตนให้เสมอต้นเสมอปลาย 11. ใจกว้างและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 12. พบปะสังสรรค์กันตามสมควร 13. ให้ความเห็นใจช่วยเหลือยามทุกข์ร้อน

  31. เรา (We) ขอบคุณ (Thank you) ฉันชอบมัน (I like it.) คุณคิดอย่างไร (What do you think ?) คุณทำงานดีมาก (You did a good job.) ยอมรับผิดถ้าเราผิด (I admit if I make mistake.) บันได 6 ขั้นเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ในทีมงาน ที่มาของข้อมูล http:www.escd.or.th และ http://webhost.cpd.go.th

  32. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ

  33. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ เลือกสมาชิกที่มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสม มาร่วมทีม กำหนดขนาดของทีมงานให้เหมาะสม ผู้นำทีม จะต้องได้มาด้วยการเห็นพ้อง ของสมาชิกส่วนใหญ่ ในทีม

  34. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ สมาชิกในทีมจะต้องมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน เพราะ ความไว้วางใจเป็นหัวใจของการสร้างทีมงานที่มี ประสิทธิภาพ สมาชิกในทีมจะต้องมีความร่วมมือกันในการปฏิบัติงาน อย่างจริงจังและเต็มใจ เสียสละ เพื่อผลสำเร็จของงาน

  35. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ จัดประชุมทีมงานเพื่อชี้แจงนโยบาย เป้าหมาย ของทีมงานและองค์การ ให้เกิดความเข้าใจตรงกันแก่ผู้ร่วมทีมงาน รวมถึงกำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคลให้ชัดเจน

  36. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ มีการกำหนดแผนงาน โดยแยกเป็นขั้นตอนการดำเนินงาน ให้ชัดเจน แล้วแบ่งงานให้เหมาะสมตามกำลัง ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของสมาชิก  ขั้นตอนการทำงาน ควรได้มาโดยปรึกษาหารือในหมู่สมาชิก ที่เกี่ยวข้องและเป็นที่ยอมรับตกลงร่วมกัน

  37. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ เปิดโอกาสให้สมาชิกของทีม เสนอแนะหรือเสนอวิธีการ ที่คิดเห็นได้เสมอ งดเว้นการพูดขัดจังหวะหรือค้าน ในระหว่างที่มีผู้ แสดงความคิดเห็น จนกว่าจะได้รับโอกาสที่จะออก ความคิดเห็น และควรรักษามารยาทในการเข้าประชุม โดยเฉพาะเรื่องของการใช้โทรศัพท์ในระหว่างการประชุม

  38. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ ฝึกการยอมรับ ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักการยอมรับ ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ไม่ยึดติดกับกรอบเดิมๆ เสมอไป วิพากษ์วิจารณ์ความคิดของบุคคลอื่น ในลักษณะเสริมในจุด ที่ยังไม่สมบูรณ์ มากกว่าการต่อต้านความคิดเห็นที่แตกต่าง

  39. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของทีมงาน และนำมาใช้ ประโยชน์จริงในการทำงาน โดยจัดหางบสนับสนุน ให้สิ่งที่คิดบังเกิดเป็นรูปธรรม

  40. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ สมาชิกของทีมจะต้องเปิดเผยและจริงใจต่อกัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง เมื่อมีปัญหาและอุปสรรคที่จะต้องแก้ไขร่วมกัน สมาชิกของทีมจะต้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา และ ตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวกับงานของตนเองมากที่สุด การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นของทีม ไม่ว่าสาเหตุจะ มาจากอะไรก็ตาม จะต้องคำนึงถึงทุกฝ่ายเป็นสำคัญ

  41. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ ควรมีเครื่องมือและระบบการสื่อสารที่ดีและเพียงพอต่อ การใช้งาน เพื่อให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น การสื่อสารควรเป็นแบบเปิด เพื่อให้สมาชิกทุกคนรับรู้ ข่าวสารต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง

  42. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ ส่งเสริมให้สมาชิกของทีมได้ร่วมกิจกรรมแบบนันทนาการ ร่วมกัน เพื่อทำมาซึ่งมนุษยสัมพันธ์และการประสานงานที่ดี ทำให้บรรยากาศในการทำงานร่วมกัน เป็นกันเองมากขึ้น สมาชิกในทีมต้องช่วยกันเสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญ ในงานที่จะทำร่วมกัน

  43. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ สมาชิกของทีม จะต้องหมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ให้ความรู้ในการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาสมาชิกผู้ร่วมทีม ได้มีความรู้ความสามารถที่ทัดเทียมกัน จัดวางระบบให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก ของทีมอย่างสม่ำเสมอ

  44. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ ยึดหลักความเป็นธรรมและความเสมอภาคของทุกคนในทีม ผู้นำทีม จะต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถในการตัดสินใจ สั่งการอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการขจัดข้อขัดแย้ง ของทีมงาน และสามารถประสานความคิดเห็นที่แตกต่าง และกระตุ้นให้เกิดการคิดค้นหาวิธีการหรือแนวทางใหม่ๆ ในการแก้ปัญหา

  45. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ มีการควบคุมและติดตามผล เพื่อรวบรวมข้อมูลและติดตาม ความคืบหน้าของการทำงาน เพื่อให้ผู้บริหารสามารถช่วย ปรับปรุงแก้ไขได้อย่างทันท่วงที มีการประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อประเมินสิ่งที่ปฏิบัติ เปรียบเทียบกับเป้าหมาย แล้วนำไปปรับปรุงจุดที่พบว่า เป็นข้อบกพร่อง ให้มีการพัฒนาแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น

  46. แนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯแนวทางการทำงานเป็นทีมของหน่วยประสานงานฯ ส่งเสริมทีมงานที่มีศักยภาพแล้ว ให้เป็นทีมงานบริหาร ตนเอง และพัฒนาทีมงานใหม่ โดยอาศัยทีมงานเก่ามาเป็น พี่เลี้ยง โดยคัดเลือกผู้ที่มีความเต็มใจและพัฒนาได้มา เข้าร่วมทีม

More Related