1 / 16

ภาคประชาสังคม 16 คน 12 องค์กร

รายงานการสำรวจสภาวะแวดล้อมด้านนโยบายและปัจจัยอื่นต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ : มุมมองภาคประชาสังคม ปี 2555-2556. ภาคประชาสังคม 16 คน 12 องค์กร. งานดูแลรักษา : Access งานเยาวชน : TNAP ชายรักชาย : ฟ้าสีรุ้ง / สวท . แรงงานข้ามชาติ : AIDSNET อีสานรักษ์ไทย / World vision

karim
Download Presentation

ภาคประชาสังคม 16 คน 12 องค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานการสำรวจสภาวะแวดล้อมด้านนโยบายและปัจจัยอื่นต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ : มุมมองภาคประชาสังคมปี 2555-2556

  2. ภาคประชาสังคม16 คน 12 องค์กร • งานดูแลรักษา : Access • งานเยาวชน : TNAP • ชายรักชาย : ฟ้าสีรุ้ง/สวท. • แรงงานข้ามชาติ : AIDSNET อีสานรักษ์ไทย / World vision • พนักงานบริการ : SWING • ผู้ใช้ยา : โอโซน / PSI • เด็กกำพร้าและเด็กเปราะบางอื่นๆ : Access • กพอ. • TNAP+

  3. เครื่องมือ NCPI : ภาคประชาสังคม ส่วนที่ 1 : การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ส่วนที่ 2 : การสนับสนุนจากฝ่ายการเมืองและภาวะผู้นำ ส่วนที่ 3 : สิทธิมนุษยชน ส่วนที่ 4 : การป้องกัน ส่วนที่ 5 : การดูแล รักษา และการช่วยเหลือ

  4. ส่วนที่ 1 :การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม

  5. การมีส่วนร่วมด้านนโยบาย และยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ (2555-2559) จัดทำแผนยุทธศาสตร์ / งบประมาณ / รายงานประเทศ ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมสูง : หลายประเด็นผลักจากภาคประชาสังคม เช่น สิทธิมนุษยชน, สิทธิทางเพศ, การตีตราและเลือกปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ • กระบวนการมีส่วนร่วมสูงแต่ระยะสั้น • มียุทธศาสตร์ มีแผนการดำเนินงาน มีตัวชี้วัด แต่ไม่มีงบประมาณ • สำนักงบประมาณขาดความเข้าใจทิศทางการดำเนินงานป้องกันดูแลรักษาประเทศ • รายงานประเทศ : สังเคราะห์ข้อมูลที่ใช้พัฒนางาน, ไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรม “จากยุทธศาสตร์เอดส์ชาติจะนำไปสู่ชุมชนได้อย่างไร ภายใต้บริบทงานโครงการ”

  6. การติดตามประเมินผลชาติการติดตามประเมินผลชาติ ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมสูง :M&E Plan, ระบบฐานข้อมูลประเทศ นำข้อมูลไปใช้ตัดสินใจ : ด้านดูแลรักษา ได้ใช้ประโยชน์มากกว่าด้านป้องกัน ปี 2555-2556 ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ • ทำ M&E ไม่ให้เป็นเรื่องยากกับคนในชุมชน • ยังไม่เชื่อมั่นในระเบียบวิธีวิจัยคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย (งาน IPBS, BSS) น.6 • ข้อมูลภาครัฐ (กลุ่มแรงงานข้ามชาติ,ผู้ใช้ยา) ไม่ถูกให้ความสำคัญ ไม่มีตัวเลขประเทศ “ภาครัฐควรให้ความสำคัญกับข้อมูลภาคประชาสังคมด้วย” น.8 ด้านการดูแล • ปี 2556 หารือ สปสช. : • เชื่อมโยงฐานข้อมูลรพ.กับศูนย์องค์รวม • พัฒนาทีมนิเทศติดตาม QI กับสมาชิกศูนย์, • “ข้อมูลประเทศใช้ได้จริง เช่น ผลักดันให้คนเริ่มยาต้านที่ 500 หรือ Any CD4, แผนรุก VCCในชุมชน”

  7. การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม • “มีส่วนร่วม” : ในระดับประเทศสูง ระดับพื้นที่ไม่เท่าเทียม (แรงงานข้ามชาติ,ผู้ใช้ยา) เช่น การนำเสนอข้อมูล/ความสนใจถกประเด็น PCM , ไม่ได้รับเชิญในเวทีสำคัญ ความหลากหลายของตัวแทน • ขาดองค์กรชุมชน (Local NGO) เช่น CBO , องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิทางเพศ • แกนนำกลุ่มประชากรแรงงานข้ามชาติ • “ไม่ใช่แค่ความหลากหลาย แต่เป็นโอกาสเข้าถึงทรัพยากร พัฒนาศักยภาพคน ข้อมูล/วิชาการขององค์กรที่ไม่ได้งบกองทุนโลก” สนับสนุนงบประมาณ/วิชาการให้ภาคประชาสังคม • ด้านดูแล : คณะกรรมการเอดส์ชาติฯ มีส่วนร่วมสูงงบสปสช. • นักวิชาการหัวก้าวหน้า • ภาครัฐควรจัดสรรงบป้องกันเพิ่มขึ้น ไม่พึ่งแหล่งทุนนอก • งบจากรัฐ (สอวพ. สคร.) น้อยลงเรื่อยๆ และ “เบี้ยหัวแตก”

  8. ส่วนที่ 2 : การสนับสนุนจากฝ่ายการเมืองและภาวะผู้นำ ปี 2555-2556 : นายกไม่เป็นประธานคณะกรรมการเอดส์ชาติ ให้รองนายกเป็น ใน 2ปีเปลี่ยนประธาน 3 คน

  9. ส่วนที่ 3 : สิทธิมนุษยชน

  10. ทุกข้อคำถาม “มี/ไม่มี” นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ -กฎหมายไม่เลือกปฏิบัติ -ลดการกระทำความรุนแรงต่อสตรี -การจ้างงานไม่ตรวจเชื้อเอชไอวี -ความเท่าเทียมของทุกกลุ่มในการเข้าถึงการป้องกันดูแลรักษา -แผนงานการตีตรา/เลือกปฏิบัติ • ประเด็นสำคัญ : • - มีแต่ไม่เป็นจริง • - ทั้งมีและไม่มีในกลุ่มเดียวกัน น.19 • - สำหรับคนไทย ไม่รวมไม่ใช่คนไทย • สิทธิมนุษยชน/กลไกดำเนินคดี : ไม่ใช่แค่กฎหมาย รวมถึงจิตใจสังคม เช่น ภาวะStigma ซ้อนทับ ชีวิตหลังดำเนินคดี

  11. ข้อเสนอ/ความท้าทาย ทบทวนนโยบาย กฎหมาย ระเบียบที่เป็นอุปสรรคการดำเนินงานด้านป้องกันดูแลรักษาอย่างจริงจัง เช่น กม.เอาผิดคนเข้าเมือง, พรบ.22 ผู้ใดเสพมีความผิดอาญา, พรบ.บำบัดฟื้นฟู 2547, กม.ปรามการค้าประเวณี ฯลฯ

  12. ส่วนที่ 4 : การป้องกัน

  13. การกำหนดกลุ่มประชากรหลัก (KAP) โดยใช้มุมมองเชิงระบาดวิทยา □ เอชไอวีเป็นเรื่องคนทุกคน ทุกคนควรได้รับข้อมูลเท่ากัน □ ตีตรา/เลือกปฏิบัติ “เลิกกลุ่มเสี่ยงแต่ตั้งต้นที่พฤติกรรมเสี่ยง • ความต้องการจำเพาะ ที่ควรเพิ่ม □ ถุงยางอนามัยฟรี มีทุกพื้นที่ เข็มสะอาด □ งบประมาณจากภาครัฐดำเนินงานด้านป้องกัน (Health Promotion , Heath Prevention) • ความท้าทาย - Health Promotion รณรงค์สาธารณะ, สื่อที่เอื้อให้แรงงานข้ามชาติเข้าถึงบริการรพ. - ผลักดันนโยบาย พสด. อสด. ควรกำหนดอาชีพ มีที่ยืน - ถุงยางอนามัยฟรี มีทุกพื้นที่ เข็มสะอาด - ทิศทางงาน “เอชไอวีไม่ใช่เอชไอวี” รวมมิติทางเพศ สุขภาวะทางเพศ อนามัยเจริญพันธุ์ วิถีชีวิตของคน บริบททางสังคม

  14. ส่วนที่ 5 : การดูแลรักษา

  15. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระบบบริการภาครัฐ ทำให้เข้าถึงการรักษาน้อยลง “ยุบคลินิกกามโรค” • บัตรประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติ ยังไม่เป็นจริงในทางปฏิบัติ (น.29) • การดูแลด้วยยาต้านกับการรับสารทดแทนเมทาโดนในระบบบริการ แยกเป็นสองหน่วย • งานด้านเด็กกำพร้าและเด็กภาวะเปราะบาง แม้มีพรบ.คุ้มครองเด็กผลักยุทธศาสตร์จังหวัด แต่ควรทำจากล่างขึ้นบน “ปัญหาของคนในชุมชน คนในชุมชน/จังหวัดต้องเห็นความสำคัญแล้วออกแบบงาน” • เกิดกลไกระดับพื้นที่ คณะกรรมการ CAG แต่ปัญหาเด็กมีความซับซ้อน อ่อนไหว ไม่ตอบตรงไปตรงมา

  16. ข้อเสนอ/ความท้าทาย • ประเทศควรมีชุดสิทธิประโยชน์เท่าเทียม ไม่เหลื่อมล้ำ “ระบบเดียวมาตรฐานเดียว” • นโยบาย “รักษาถูกโรค กินยาถูกฉลาก” ระบบบริการรพ.ควรเอื้อต่อแรงงานข้ามชาติ ล่าม ภาษา อ่านไม่ออก • คนทุกกลุ่มเข้าถึงบริการดูแลรักษา ไม่ละเลยใครและทำได้จริง • ผลข้างเคียงยาต้าน , เร่งทำ Recruit ต้องไม่ละเมิด • ด้านเด็ก ไม่ใช่เรื่องนโยบาย แต่เป็นทัศนะ วิธีการทำงานตั้งรับ การเห็นภารกิจและบทบาทตรงกัน

More Related