230 likes | 449 Views
การทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร โดย คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ. สุคุณ คุณะวเสน โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. การเสวนาความปลอดภัยอาหาร สัญจร วันที่ 27 มกราคม 254 8 คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
E N D
การทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารการทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร โดย คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ สุคุณ คุณะวเสน โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การเสวนาความปลอดภัยอาหารสัญจร วันที่ 27 มกราคม 2548 คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กรอบการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทยกรอบการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทย กก.นโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ประธานฯ - นายกรัฐมนตรี กระทรวงวิทย์ฯ อกก.เฉพาะกิจเพื่อพัฒนานโยบายพันธุวิศวกรรม และความปลอดภัยทางชีวภาพ สวทช. สน.เลขานุการ คณะกรรมการกลางฯ ไบโอเทค สน.เลขานุการ • พืช • จุลินทรีย์ • อาหาร • สังคม - เศรษฐกิจ • ปศุสัตว์ • ประมง • การค้าและพาณิชย์ • กฎหมาย • สิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่มีอำนาจทางกฎหมาย - กรมวิชาการเกษตร - อย. - กรมปศุสัตว์ - กรมประมง - กระทรวงพาณิชย์ - สผ. • คณะกรรมการฯ ระดับสถาบัน IBCs • 25 แห่ง • - มหาวิทยาลัย 17 แห่ง • หน่วยงานราชการ 6 แห่ง • สถาบันวิจัย 1 แห่ง • ผู้ประกอบการเอกชน 1 แห่ง คณะอนุกรรมการฯ คณะทำงานฯ
คณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารคณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร • แต่งตั้งโดยคณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ • เมื่อ พ.ศ.2541 • ที่ปรึกษาด้านวิชาการเกี่ยวกับอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลง พันธุกรรมแก่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • จัดทำแนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมิน ความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ดัดแปลงพันธุกรรม เมื่อ พ.ศ.2544 (กำลังปรับปรุง โดยให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน Codex)
คณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร (ต่อ) • ดำเนินการประเมินความปลอดภัยของพืชอาหาร • ที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม • (ดำเนินการแล้ว) • น้ำมันจากเมล็ดฝ้ายบอลล์การ์ด • ถั่วเหลืองราวด์อัพ สายพันธุ์ GTS 40-3-2 • ข้าวโพดสายพันธุ์ GA 21 และ NK 603 • (กำลังดำเนินการ) • ข้าวโพดสายพันธุ์ MON 810 • มะละกอต้านทานไวรัสใบด่างจุดวงแหวน กรมวิชาการเกษตร
ความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรมความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม
อาหารที่ไม่ได้มาจากการดัดแปลงพันธุกรรมอาหารที่ไม่ได้มาจากการดัดแปลงพันธุกรรม • การพัฒนาพันธุ์แบบดั้งเดิมโดยการใช้แสง UV หรือการใช้สารเคมีที่ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ • ไม่มีกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการประเมินความปลอดภัย
ความเสี่ยงจากอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรมความเสี่ยงจากอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม • สารพิษ(Toxicity) • ปริมาณของสารอาหารและสารโภชนาการ • (Nutritional adequacy) • สารก่อภูมิแพ้ (Allergenicity) • การถ่ายทอดของสารพันธุกรรม(Gene transfer) • การเกิดโรค (Pathogenicity)
หลักการ ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ (Substantial equivalence) • ; OECD 1993 • หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ • แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของพืชอาหารที่ได้จาก • การดัดแปลงพันธุกรรม • แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จาก • จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
เกณฑ์ที่ใช้สำหรับหลัก “ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ” • ลักษณะปรากฏ (phenotype) และลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) ของสิ่งมีชีวิต • ความแตกต่างของส่วนประกอบทางเคมีก่อนและหลังขั้นตอน การผลิต (สารอาหารและสารพิษ) • ผลกระทบทางชีวภาพ (เช่น การกลายพันธุ์หรือการศึกษาในสัตว์) • รูปแบบการบริโภค (เช่นสัดส่วนการบริโภค)
1. มีความเทียบเท่าทุกประการ • “ อาหารที่ได้จากการดัดแปลงทางพันธุกรรมมีความเทียบเท่ากับอาหารธรรมดาทั้งทางด้านคุณสมบัติทางเคมี โภชนาการ และความปลอดภัย ” • ตัวอย่างอาหารได้แก่ น้ำมันพืช ที่มีความบริสุทธิ์สูง • อาหารในกลุ่มนี้ถือว่ามีความปลอดภัยเทียบเท่า
การเทียบเท่า • 2. มีความเทียบเท่า • ยกเว้นส่วนที่มีความแตกต่างอย่างจำเพาะ • “ อาหารตัดแต่งพันธุกรรมส่วนมากจัดอยู่ในประเภทนี้ • ต้องมีการตรวจสอบความปลอดภัยโดยพิจารณาในส่วนที่ • ความแตกต่าง ”
3. ไม่มีความเทียบเท่า • “ อาหารประเภทนี้จะต้องผ่านการประเมินความปลอดภัย อย่างรัดกุม โดยเฉพาะในมนุษย์ ” • ขณะนี้ยังไม่มีอาหารชนิดใดที่จัดอยู่ในประเภทนี้ การเทียบเท่า
การประเมินความปลอดภัยการประเมินความปลอดภัย ของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม 1. คุณลักษณะที่แสดงออกของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม 2. องค์ประกอบของสารโภชนาการต่างๆ 3. ข้อมูลการใช้เป็นอาหาร 4. ความเป็นไปได้ในการเป็นสารพิษและสารก่อภูมิแพ้ จาก Guidelines in Safety Assessment of Genetically Modified Food
งานวิจัยและพัฒนามะละกอดัดแปลงพันธุกรรมงานวิจัยและพัฒนามะละกอดัดแปลงพันธุกรรม • มะละกอต้านทานไวรัสใบด่างจุดวงแหวน (PRSV) • มะละกอชะลอการสุกงอม (delay ripening)
มะละกอดัดแปลงพันธุกรรมต้านทานมะละกอดัดแปลงพันธุกรรมต้านทาน ไวรัสใบด่างจุดวงแหวน มะละกอที่ได้รับเชื้อไวรัส ใบด่างจุดวงแหวน
โรคไวรัสใบด่างจุดวงแหวนโรคไวรัสใบด่างจุดวงแหวน
หน่วยงานในประเทศ ที่มีงานวิจัยพัฒนา มะละกอดัดแปลงพันธุกรรม • กรมวิชาการเกษตร • หน่วยพันธุวิศวกรรมด้านพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร ของมะละกอดัดแปลงพันธุกรรม
ประเทศสหรัฐอเมริกา • มะละกอดัดแปลงพันธุกรรมต้านทานไวรัสใบด่างจุดวงแหวน สายพันธุ์ 55-1/63-1 • ได้รับการอนุมัติจากหน่วยงานภาครัฐ • ปี 1996 ด้านสิ่งแวดล้อม โดย USDA - APHIS • และ ปี 1997 ด้านอาหารโดย USFDA
เกณฑ์การประเมินความปลอดภัยโดย USFDA • คุณค่าทางโภชนาการ • : วิตามินเอและซี, ปริมาณน้ำตาล • สารพิษที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ • : benzyl isothiocyanate (BITC) • การเกิดพิษและการก่อภูมิแพ้ • : ประวัติการบริโภคที่ปลอดภัย, การทนทานต่อ • ความร้อนและกรด, ฐานข้อมูลของสารพิษและ • สารก่อภูมิแพ้
เกณฑ์การประเมินความปลอดภัยเกณฑ์การประเมินความปลอดภัย โดยคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการกลางฯ • คุณค่าทางโภชนาการ • : วิตามินเอ วิตามินซีและไลโคพีน, โพแทสเซียม, • ปริมาณน้ำตาล, คาร์โบไฮเดรต, ใยอาหาร • ปริมาณ coat protein • สารพิษที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ • : benzyl isothiocyanate (BITC)
เกณฑ์การประเมินความปลอดภัยเกณฑ์การประเมินความปลอดภัย โดยคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการกลางฯ (ต่อ) • การทดสอบความปลอดภัยจากการบริโภคมะละกอ • ดัดแปลงพันธุกรรมของหนูทดลอง • การเกิดสารพิษและสารภูมิแพ้ • : ประวัติการบริโภคที่ปลอดภัย, การทนทานต่อ • ความร้อนและกรด, ฐานข้อมูลของสารพิษและ • สารก่อภูมิแพ้