1 / 94

ระบบพนักงานราชการ สู่ทางปฏิบัติ

ระบบพนักงานราชการ สู่ทางปฏิบัติ. นางทวีลาภ จันทนะเสวี ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. วันที่ 24 เมษายน 2547 ณ กรมชลประทาน. ปรัชญาของระบบสัญญาจ้าง. เป็นทางเลือกของการจ้างงานภาครัฐที่ยืดหยุ่นและคล่องตัว ( Freedom and Flexibility ) จ้างบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency Based) และ

Download Presentation

ระบบพนักงานราชการ สู่ทางปฏิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบพนักงานราชการ สู่ทางปฏิบัติ นางทวีลาภ จันทนะเสวี ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. วันที่ 24 เมษายน 2547 ณ กรมชลประทาน

  2. ปรัชญาของระบบสัญญาจ้างปรัชญาของระบบสัญญาจ้าง • เป็นทางเลือกของการจ้างงานภาครัฐที่ยืดหยุ่นและคล่องตัว • (Freedom and Flexibility) • จ้างบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency Based) และ • หลักผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance Based) • การเข้า-ออก ตามสัญญาจ้าง (เป็นไปตามภารกิจและ • สามารถต่อสัญญาได้) • ไม่ใช่การจ้างงานตลอดชีพ เป็นการจ้างงานที่มีระยะเวลา • สิ้นสุดตามนโยบาย แผนงาน หรือโครงการ • มอบอำนาจให้ส่วนราชการดำเนินการบริหารจัดการเอง

  3. พนักงานราชการ ? คือ บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตาม สัญญาจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทน จากงบประมาณของส่วนราชการ เพื่อเป็นพนักงานของรัฐใน การปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการนั้น

  4. ภาพลักษณ์ของ “พนักงานราชการ” • มีเกียรติและศักดิ์ศรีในฐานะบุคลากรภาครัฐ • ปฏิบัติงานโดยยึดหลักขีดสมรรถนะ และผลงาน • ทำงานในภาคราชการ ควบคู่ข้าราชการ • ทำงานหลากหลาย ตั้งแต่ระดับ ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ จนถึงระดับปฏิบัติ หน้าที่สนับสนุนภารกิจของข้าราชการ • เป็นกำลังคนตามการบริหารจัดการยุคใหม่

  5. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗

  6. แนวคิด ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ • เป็นเครื่องมือในการบริหารงานพนักงานราชการ • สอดคล้องกับแนวทางการบริหารภาครัฐแนวใหม่ • - ยืดหยุ่น แก้ไขได้ง่าย • - กระจายอำนาจการบริหารจัดการ • - ความคล่องตัว • - มีเจ้าภาพที่ชัดเจน • สอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  7. สาระสำคัญของระเบียบสำนักนากยกรัฐมนตรีสาระสำคัญของระเบียบสำนักนากยกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 หมวด 1 พนักงานราชการ หมวด 2 ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ หมวด 3 การประเมินผลการปฏิบัติงาน หมวด 4 วินัยและการรักษาวินัย หมวด 5 การสิ้นสุดสัญญาจ้าง หมวด 6 คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ บทเฉพาะกาล

  8. สาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯสาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ข้อ 3 ขรก. พลเรือน, ทหาร, ครู ยกเว้น ส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ รวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งเป็น ผู้ว่าจ้างพนักงานราชการ “สัญญาจ้าง” เป็น สัญญาทางปกครอง

  9. หมวด 1 พนักงานราชการ • ประเภทของพนักงานราชการ • การกำหนดตำแหน่ง • คุณสมบัติทั่วไป • กรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ • การสรรหาและเลือกสรร • การจ้างและแบบสัญญา • เครื่องแบบ • วันเวลาการทำงาน

  10. หมวด 1 “พนักงานราชการ” สาระสำคัญ... ข้อที่... 6 • จำแนกพนักงานราชการออกเป็น 2 ประเภท • (1) พนักงานราชการประเภททั่วไป • (2) พนักงานราชการประเภทพิเศษ • แบ่งพนักงานราชการออกเป็น 6 กลุ่มงาน • (1) กลุ่มงานบริการ • (2) กลุ่มงานเทคนิค • (3) กลุ่มงานบริหารทั่วไป • (4) กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ • (5) กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ • (6) กลุ่มงานเชี่ยวชาญพิเศษ 7

  11. หมวด 1 “พนักงานราชการ” สาระสำคัญ... ข้อที่... • การกำหนด ลักษณะงานและ คุณสมบัติเฉพาะ • เป็นไปตาม ประกาศ ของ “คณะกรรมการ • บริหารพนักงานราชการ” • ส่วนราชการกำหนดชื่อตำแหน่งเอง ตาม • ความเหมาะสมของงาน 7 (ต่อ)

  12. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะกลุ่มงาน และ การจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ

  13. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ แนวคิด สาระสำคัญของประกาศฯ • จัดกลุ่มภารกิจให้เหมาะสม • กับการกำหนดตำแหน่ง • ความคล่องตัวใน • การบริหารจัดการ • สามารถนำสมรรถนะ หรือ • ประสบการณ์มาใช้ • มีระบบและไม่ส่งผลกระทบ • ต่องบประมาณในระยะยาว • มีการพัฒนาระบบอย่าง • ต่อเนื่อง • การกำหนดลักษณะงาน • และคุณสมบัติเฉพาะของ • กลุ่มงาน • การจัดทำกรอบอัตรากำลัง • การรายงานผลการบริหารงาน

  14. องค์ประกอบ ในการกำหนดลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ • ไม่ใช่งานจ้างเหมาบริการ • ความยากง่ายของงาน • การใช้ทักษะ / ประสบการณ์ / ความเชี่ยวชาญ • ทดแทนวุฒิการศึกษา • ผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน

  15. การกำหนดลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะการกำหนดลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ กลุ่มงาน ลักษณะงาน คุณสมบัติเฉพาะ 1. บริการ 2. เทคนิค 3. บริหารทั่วไป • งานปฏิบัติระดับต้น • ไม่ซับซ้อน • ไม่ใช้ทักษะเฉพาะ • ใช้ความรู้ทางเทคนิค • ใช้ทักษะเฉพาะ • ลักษณะเดียวกับ ขรก. • ไม่ใช่ลักษณะเดียวกับ • ขรก. • ม.3/ม.ศ.3/ม.6 • ปวช./ปวท./ปวส. • ปวช./ปวท./ปวส. • ทักษะไม่ต่ำกว่า 5 ปี • ไม่ต่ำกว่า ป.ตรี

  16. การกำหนดลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ (ต่อ) กลุ่มงาน ลักษณะงาน คุณสมบัติเฉพาะ 4. วิชาชีพเฉพาะ 5. เชี่ยวชาญเฉพาะ • วุฒิเฉพาะทางและมีผล • กระทบต่อชีวิตและ • ทรัพย์สิน/ขาดแคลน • คนมาบรรจุ/วิทยาศาสตร์ • และเทคโนโลยี • ใช้ความรู้ประสบการณ์/ • ภูมิปัญญาท้องถิ่น • งานพัฒนาเชิงระบบที่ • ต้องใช้ความเชี่ยวชาญ • ไม่ต่ำกว่า ป.ตรี • ป.ตรี + ใบอนุญาต/ • ใบรับรอง • ป.ตรี/โท/เอก • +ประสบการณ์ • ประสบการณ์ไม่ต่ำ • กว่า 10 ปี

  17. การกำหนดลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ (ต่อ) กลุ่มงาน ลักษณะงาน คุณสมบัติเฉพาะ 6. เชี่ยวชาญพิเศษ • ใช้ความเชี่ยวชาญสูง • เป็นพิเศษ • - ระดับทั่วไป • - ระดับประเทศ • - ระดับสากล • โครงการสำคัญเร่งด่วน • มีเป้าหมายชัดเจน และ • ระยะเวลาสิ้นสุด • แน่นอน • ไม่อาจสรรหาได้จาก • ภายในหน่วยงาน • ส่วนราชการ • กำหนดตามระดับ • ความเชี่ยวชาญ

  18. หมวด 1 “พนักงานราชการ” (ต่อ)... สาระสำคัญ... ข้อที่... 8 • คุณสมบัติทั่วไป ของพนักงานราชการ ซึ่ง • ส่วนราชการสามารถกำหนดเพิ่มเติมได้ • เรื่องสัญชาติ ไม่ใช้บังคับกับพนักงานราชการ • ชาวต่างประเทศ ซึ่งบางส่วนราชการอาจมี • ความจำเป็นต้องจ้างชาวต่างชาติ • ส่วนราชการจัดทำ กรอบอัตรากำลังพนักงาน • ราชการ 4 ปี และเสนอ คกก.ฯ พิจารณาให้ • ความเห็นชอบ 9

  19. แนวทาง การจัดทำกรอบอัตรากำลัง พนักงานราชการ ศูนย์บริหารพนักงานราชการ

  20. การจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ 1. ไม่ซับซ้อน (Simple) มีความยืดหยุ่น คล่องตัว (Flexibility) และสอดคล้องกับสถานการณ์ 2. การวางแผนการใช้กำลังคนล่วงหน้า 3. การกำหนดกรอบที่แสดงเฉพาะกลุ่มลักษณะงาน และ จำนวนของ พรก. ในแต่ละกลุ่มลักษณะงาน 4. จัดตามภารกิจของส่วนราชการ โดยไม่ยึดโครงสร้าง 5. มองบุคลากร (ข้าราชการ ลูกจ้าง เป็นต้น) ของส่วน ราชการ ในภาพรวม (แสดงจำนวนข้าราชการ โดย ไม่ต้องแสดงระดับตำแหน่ง)

  21. จำนวนลูกจ้างประจำ ระยะเวลา ไม่เกิน 5,000 ไม่เกิน 15,000 ไม่เกิน 25,000 เกินกว่า 25,000 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 เดือน กำหนดระยะเวลา การจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ • คำนวณจากจำนวนลูกจ้างประจำของส่วนราชการ กรณีไม่สามารถดำเนินการได้ตามเวลา ให้ส่วนราชการแจ้งปัญหาอุปสรรคให้ คพร. ทราบ

  22. แนวทางการจัดทำ กรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ 1. สำรวจภารกิจ และ อัตรากำลังที่มีอยู่ในปัจจุบัน (พิจารณาตามภารกิจ ไม่ใช่ตามโครงสร้าง) แบบสำรวจ ภารกิจ การใช้กำลังคน ขรก. ลจ.ประจำ ลจ.ชั่วคราว อื่นๆ 1. ภารกิจ..... - กิจกรรม..... - กิจกรรม..... 2. ภารกิจ..... - กิจกรรม..... * การกำหนดภารกิจอาจพิจารณาตามเอกสารงบประมาณ

  23. 2. ตรวจสอบภารกิจตามข้อ 1. ว่าควรดำเนินการต่อหรือไม่ ตามแบบการวิเคราะห์ภารกิจและการใช้กำลังคน เกิน (เกลี่ยอัตรากำลังให้งานที่มีความจำเป็น) 1. ตรวจสอบการใช้กำลังคน ไม่เพียงพอ ไม่จำเป็น (เกลี่ยอัตรากำลังให้งานที่ จำเป็นกว่า) 2. ทบทวนภารกิจว่าจำเป็นหรือไม่ จำเป็น 3. งานที่ต้องดำเนินการเองหรือไม่ ไม่ใช่ (จ้างเหมา/ถ่ายโอน) ใช่ ได้ (มอบอำนาจ กระจายอำนาจ หรือชะลองานไว้) 4. ชะลองานได้หรือไม่ ไม่ได้ 5. อัตรากำลังเพิ่มหรือไม่ ไม่จำเป็น (ใช้เทคโนโลยี ปรับปรุงระบบงาน ลดขั้นตอน/กระบวนงาน) จำเป็น 6. จัดทำกรอบอัตรากำลังตามภารกิจ

  24. 3. เมื่อได้ภารกิจตามข้อ 2 แล้วให้แยกภารกิจออกเป็น ภารกิจหลัก ภารกิจรอง ภารกิจสนับสนุน 4. ใช้แนวความคิดการจัดอัตรากำลังตาม ภารกิจหลัก ภารกิจรอง และ ภารกิจสนับสนุน เช่น - ภารกิจหลัก ใช้ข้าราชการ 90-100 % ที่เหลือเป็น พรก. หรือจ้างเหมา - ภารกิจรอง ใช้ข้าราชการ 50-75% ที่เหลือเป็น พรก. หรือจ้างเหมา - ภารกิจสนับสนุน ใช้ข้าราชการ 25-50% ที่เหลือเป็น พรก. หรือจ้างเหมา โดยอัตรากำลัง พรก. ให้แสดงด้วยว่าอยู่ในกลุ่มลักษณะงานใด ทั้งนี้หากไม่สามารถจ้างเหมาได้ให้แสดงเหตุผลและจำนวนที่ต้องจ้างเป็น พรก.แทน หรือจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราว

  25. 5. จัดทำตารางแสดงภารกิจและการใช้กำลังคนตามข้อ 4 คือ แยกเป็น ข้าราชการ พนักงานราชการ และอื่น ๆ เช่น จ้างเหมา หากยังจำเป็นต้องมี ตารางแสดงภารกิจและการใช้กำลังคน หมายเหตุ จำนวนกำลังคนที่ใช้ ภารกิจ ขรก. พนักงานราชการ (ระบุกลุ่มลักษณะงาน) อื่นๆ 1. ภารกิจ..... - กิจกรรม..... - กิจกรรม..... 2. ภารกิจ..... - กิจกรรม.....

  26. กลุ่มภารกิจ จำนวนตำแหน่งจำแนกตามกลุ่มงาน รวม จำนวน หมายเหตุ งานบริการ งานเทคนิค งานบริหารทั่วไป งานวิชาชีพเฉพาะ งานเชี่ยวชาญเฉพาะ งานเชี่ยวชาญพิเศษ ลปจ. เดิม ลชค. เดิม ภารกิจหลัก1. ภารกิจ... 2. ภารกิจ... ภารกิจรอง ฯลฯ รวม 6. แสดงตัวเลขอัตรากำลัง พรก. จากข้อ 5 แยกตามกลุ่มลักษณะงานเป็นกรอบ อัตรากำลัง พรก. โดยในกรอบนั้นต้องแสดงว่าเป็น อัตราลูกจ้างประจำเดิมและลูกจ้างชั่วคราวจำนวนเท่าใด= แสดงจำนวนอัตรากำลัง พรก. ที่เพิ่มขึ้นด้วย ตารางแสดงบัญชีกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548- 2552) ส่วนราชการ .......................................................... กระทรวง ..............................................................

  27. 7. นำเสนอต่อ อ.ก.พ. กระทรวงให้ความเห็นชอบ • 8. เมื่อ อ.ก.พ. กระทรวงเห็นชอบส่งเรื่องมาที่สำนักงาน ก.พ. • เพื่อเสนอคณะกรรมการบริหารงาน พรก. ให้ความเห็นชอบ • 9. นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร พรก. เพื่อให้ความเห็นชอบ • และดำเนินการจ้างได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ • บริหารงาน พรก. กำหนด • กรอบอัตรากำลัง พรก. ที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว ส่วนราชการ • สามารถบริหารจัดการได้ตามกำลังเงินงบประมาณที่มีอยู่หรือที่จะ • มีต่อไป

  28. ขั้นตอนการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการขั้นตอนการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พิจารณาอนุมัติกรอบ คกก.บริหารพนักงานราชการ แจ้งมติ คกก. ให้ส่วนราชการ นำเข้าที่ประชุม คพร. สำนักงาน ก.พ. ให้คำปรึกษา อกพ.กระทรวง/คกก. พิจารณาให้ความเห็นชอบ บริหารจัดการอัตรากำลัง พรก. ส่วนราชการ วิเคราะห์ภารกิจ จัดทำกรอบ

  29. หมวด 1 “พนักงานราชการ” (ต่อ)... สาระสำคัญ... ข้อที่... • สำนักงบประมาณ สนับสนุนงบประมาณ • ส่วนราชการ ปรับกรอบได้ โดยได้รับ • ความเห็นชอบจาก คกก. ฯ 9 (ต่อ) 10 • การสรรหาและเลือกสรร ตาม ประกาศ คกก.ฯ • สัญญาจ้าง ไม่เกินคราวละ 4 ปี หรือ ตาม • โครงการ และต่อสัญญาได้ตามความเหมาะสม • แบบสัญญา เป็นไปตามที่ คกก.ฯ กำหนด 11

  30. หลักเกณฑ์และวิธีการ สรรหาและเลือกสรร

  31. การสรรหาและเลือกสรร การเสาะแสวงหาบุคคลที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ เพื่อนำมาเลือกสรร การสรรหา การพิจารณาผู้ที่สรรหามาแล้ว เพื่อเลือกให้ได้บุคคลที่เหมาะสมกับงาน การเลือกสรร หลักการ หลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดแยกตามประเภทของพนักงานราชการ • หลักสมรรถนะ (Competency Based) • ความคล่องตัวของส่วนราชการ • หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  32. การสรรหาและเลือกสรร (ต่อ) สมรรถนะ (Competency) หมายถึง องค์ประกอบของบุคคลในด้าน ความรู้ ความสามารถ/ทักษะ และคุณลักษณะส่วนบุคคล ที่สะท้อนออกมาในรูปพฤติกรรม การทำงาน ที่ก่อให้เกิดผลการปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยมตามเป้าหมายของหน่วยงาน

  33. กลุ่มพนักงานราชการทั่วไปกลุ่มพนักงานราชการทั่วไป การ สรรหา 1. จัดทำประกาศรับสมัคร ซึ่งประกอบด้วย…. - รายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่ง/ขอบข่ายของงาน - ระยะเวลาการจ้างและค่าตอบแทน - คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร - หลักเกณฑ์การเลือกสรร - เกณฑ์การตัดสิน - อายุบัญชี 2. ประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ 3. รับสมัครไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ

  34. กลุ่มพนักงานราชการทั่วไป (ต่อ) หลักเกณฑ์การเลือกสรร • กำหนดสมรรถนะ (Competency) ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งตามที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น ความรู้ “อะไรที่จำเป็นต้องรู้” ความสามารถ/ทักษะ “อะไรที่สามารถทำได้” คุณลักษณะส่วนบุคคล “อะไรที่จำเป็นต้องมี-ไม่มี” ตัวอย่างเช่น การใช้ Program MS Office หรือ การสื่อสาร หรือ การทำงานเป็นทีม

  35. กลุ่มพนักงานราชการทั่วไป (ต่อ) • แนวทางการวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดสมรรถนะ • ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลที่ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติงาน • สัมภาษณ์หัวหน้างาน • ประมวลเหตุการณ์สำคัญของพฤติกรรมการทำงาน ที่ดี-ไม่ดี • ฯลฯ

  36. กลุ่มพนักงานราชการทั่วไป (ต่อ) หลักเกณฑ์การเลือกสรร • กำหนดวิธีการประเมินสมรรถนะที่กำหนดขึ้นด้วยวิธีการ อย่างใด อย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกัน ตัวอย่างเช่น สอบข้อเขียน ทดสอบตัวอย่างงาน หรือสอบ สัมภาษณ์ เป็นต้น

  37. กลุ่มพนักงานราชการทั่วไป (ต่อ) หลักเกณฑ์การเลือกสรร เกณฑ์ การตัดสิน ส่วนราชการกำหนดตามความเหมาะสมกับตำแหน่ง อายุบัญชีไม่เกิน 1 ปี

  38. กลุ่มพนักงานราชการทั่วไป (ต่อ) การเลือกสรร 1. หัวหน้าส่วนราชการ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ สรรหาและเลือกสรร 2. คณะกรรมการฯ ดำเนินการเลือกสรรตามที่กำหนด ไว้ในประกาศรับสมัคร 3. ประกาศขึ้นบัญชีผู้ผ่านการเลือกสรร

  39. กลุ่มพนักงานราชการพิเศษ 1. มีคุณสมบัติทั่วไปตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย พนักงานราชการ พ.ศ. 2547 2. มีคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และผลงานตามที่ คกก. บริหาร พนักงานราชการกำหนด คุณ สมบัติ

  40. กลุ่มพนักงานราชการพิเศษ (ต่อ) วิธีการ การสรรหา 1. ส่วนราชการกำหนดขอบข่ายงาน สมรรถนะ ฯลฯ 2. เสาะหารายชื่อจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น สมาคมอาชีพ ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจต่างๆซึ่งเคยจ้างผู้เชี่ยวชาญในงานประเภทเดียวกัน การเลือกสรร • หัวหน้าส่วนราชการ หรือคณะกรรมการฯ และ ผู้รับผิดชอบงาน/โครงการ เลือกสรรจากรายชื่อที่ได้สรรหามาทั้งหมด

  41. การทำสัญญาจ้าง

  42. การจัดทำสัญญาจ้าง • แบบสัญญาจ้างตามที่คณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการ กำหนด • ส่วนราชการจัดทำรายละเอียดของสัญญา • คู่สัญญา คือ หัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้ที่ ได้รับมอบหมาย กับ พนักงานราชการ • ส่วนราชการควบคุม/ดูแลให้มีการปฏิบัติตามสัญญา

  43. หมวด 1 “พนักงานราชการ” (ต่อ)... สาระสำคัญ... ข้อที่... • ส่วนราชการกำหนดเครื่องแบบ เครื่องแต่งกาย • คกก.ฯ กำหนด เครื่องแบบพิธีการ 12 13 • ส่วนราชการกำหนด วันเวลาทำงาน และ • วิธีการทำงานในกรณีไม่ต้องอยู่ปฏิบัติงาน • ประจำส่วนราชการ

  44. หมวด 2 ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ • อัตราค่าตอบแทน • สิทธิประโยชน์ • อยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม • ค่าตอบแทนการออกจากงานโดยไม่มีความผิด

  45. หมวด 2 “ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์” สาระสำคัญ... ข้อที่... • ค่าตอบแทน เป็นไปตาม ประกาศ คกก.ฯ 14 15 • สิทธิประโยชน์ • - แตกต่างไปแต่ละกลุ่มลักษณะงาน • - ฝ่ายเลขาฯ ประสานกับส่วนราชการ • เจ้าของระเบียบฯ ิ • - คกก.ฯ เสนอ ครม. ในกรณีที่เห็นสมควร • คกก.ฯ ทบทวนค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์ 16

  46. หมวด 2 “ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์” (ต่อ)... สาระสำคัญ... ข้อที่... • พนักงานราชการ ใช้กฎหมายว่าด้วย • การประกันสังคม 17 18 • การกำหนดค่าตอบแทน ออกจากงานโดยไม่มี • ความผิด

  47. ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์

  48. ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ สาระสำคัญ แนวคิด • ตอบแทนการทำงานตาม ลักษณะงานและผลผลิต • ให้ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและมี ประสบการณ์เข้ามาทำงาน • ยุติธรรมเสมอภาคไม่ เหลื่อมล้ำ • จ่ายค่าตอบแทนให้เพียงพอและตามความรู้ความสามารถ • การได้รับค่าตอบแทนตามลักษณะ งานและคุณสมบัติเฉพาะตามกลุ่มงาน • การได้รับค่าตอบแทน กรณีเป็นผู้มี ประสบการณ์ • การเลื่อนขั้นค่าตอบแทนประจำปีและรับค่าตอบแทนพิเศษ • กรณีที่มีการต่อสัญญาจ้างจะได้รับค่าตอบแทนต่อเนื่อง

  49. 2.ค่าตอบแทนพิเศษตามผลงานปริมาณงานและคุณภาพของงานจำนวน 3-5 % ตามกลุ่มลักษณะงานโดยมีผลการประเมินดีเด่น 3.ค่าตอบแทนวิชาชีพ ค่าตอบแทนสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ,ค่าตอบแทนอื่นๆ (เช่นเดียวกับที่ ขรก.พลเรือนได้รับ) 4.สิทธิประโยชน์ ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ 1.อัตรา ค่าตอบแทน ตามกลุ่ม ลักษณะงาน กลุ่มงานบริการ กลุ่มงานเทคนิค กลุ่มงานบริหารทั่วไป ได้รับค่าตอบแทน 1+2+4 กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะและกลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ ได้รับค่าตอบแทน 1+2+3+4 กลุ่มงานเชี่ยวชาญพิเศษ ได้รับค่าตอบแทน 1+4 (บางอย่าง)

  50. บัญชีอัตราค่าตอบแทน บัญชีตามกลุ่มลักษณะงาน ชดเชยบำเหน็จ (10%) +สวัสดิการอื่นๆ (5%) +ประกันสังคม (5%)= 20 % เงินเดือนพื้นฐาน(บัญชีข้าราชการพลเรือน) สะท้อนถึงอัตราตลาด ขนาดของงาน ขีดสมรรถนะ ความสามารถในการจ่าย

More Related