1 / 21

โครงการส่งเสริมและขยายผล การลดต้นทุนการผลิตข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี

โครงการส่งเสริมและขยายผล การลดต้นทุนการผลิตข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี. นางอ้อมใจ แตรสังข์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสุพรรณบุรี. โดย. กรณีตัวอย่างของจังหวัดสุพรรณบุรี

Download Presentation

โครงการส่งเสริมและขยายผล การลดต้นทุนการผลิตข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าวจังหวัดสุพรรณบุรีโครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าวจังหวัดสุพรรณบุรี นางอ้อมใจ แตรสังข์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสุพรรณบุรี โดย

  2. กรณีตัวอย่างของจังหวัดสุพรรณบุรีกรณีตัวอย่างของจังหวัดสุพรรณบุรี • สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการคัดเลือกพื้นที่ดำเนินโครงการ ณ ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี โดยมี นายพิชิต เกียรติสมพร บ้านเลขที่ 22/2 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี เกษตรกรต้นแบบการลดต้นทุนการผลิตข้าว (ครูติดแผ่นดิน) เป็นผู้ดำเนินการจัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตข้าวแบบลดต้นทุน จำนวน 9 ไร่

  3. กระบวนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าวกระบวนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าว 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยผ่านการประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี อาสาสมัครเกษตร เกษตรหมู่บ้าน และผู้นำในชุมชน

  4. 2. คัดเลือกบุคคลเป้าหมาย - ครูติดแผ่นดิน มีการคัดเลือกแล้วตามโครงการพัฒนาการกระบวนการ ส่งเสริมการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืชยุทธศาสตร์จังหวัด - เกษตรกรขยายผล คัดเลือกโดยครูติดแผ่นดิน

  5. 3. ถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยครูติดแผ่นดิน - จัดทำแปลงเรียนรู้ - การวิเคราะห์ดิน - การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (ปุ๋ยสั่งตัด) - การจัดการเมล็ดพันธุ์ - การจัดการศัตรูพืช - การบำรุงปรับปรุงดิน - การใช้สารชีวภัณฑ์

  6. โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการจัดเวที 4 ครั้ง เวทีที่ 1 - วัตถุประสงค์โครงการการลดต้นทุนการผลิตข้าว - การผลิตข้าวตามมาตรฐาน GAP เพื่อการผลิตข้าวที่ยั่งยืน - การผลิตและการใช้ประโยชน์จากสารชีวภัณฑ์ - สาธิตการผลิตการทำน้ำหมักชีวภาพและสารไล่แมลง

  7. เวทีที่ 2 - การจัดการเมล็ดพันธุ์ - การบำรุงปรับปรุงดิน - การบริหารศัตรูพืช - การวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน

  8. เวทีที่ 3 - ฝึกปฏิบัติการเก็บตัวอย่างดิน - การวิเคราะห์ตัวอย่างดิน - คำแนะนำการใช้ปุ๋ยเฉพาะที่ - แนวทางการหาปุ๋ยให้กับสมาชิก

  9. เวทีที่ 4 - สรุปบทเรียนแนวทางการผลิตข้าวยั่งยืน (การลดต้นทุนการผลิตข้าว) - ข้อตกลงการพัฒนาเครือข่าย

  10. 4. สรุปผลการส่งเสริมโครงการโดยการถอดองค์ความรู้ โดยได้ประชุมสัมมนาถอดองค์ความรู้เรื่องการลดต้นทุนการผลิตข้าว เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมสองพันบุรี อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการโดยสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2

  11. มีศูนย์เรียนรู้การลดต้นทุนการผลิตข้าว ซึ่งภายในศูนย์ ประกอบด้วยองค์ความรู้ในเรื่องการลดต้นทุนการผลิตข้าว ดังนี้ - การวิเคราะห์ดิน - การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (ปุ๋ยสั่งตัด) - การจัดการเมล็ดพันธุ์ - การจัดการศัตรูพืช - การบำรุงปรับปรุงดิน - การผลิตและใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช

  12. ผลการลดต้นทุน • ต้นทุนการผลิต/ไร่ ก่อน หลัง 1. การเตรียมดิน (บาท/ไร่) จำนวน 338 338 2. การเตรียมพันธุ์ (บาท/ไร่) จำนวน 480 450 3. การปลูก (บาท/ไร่) จำนวน 50 60 4. ค่าใช้จ่ายในการป้องกันกำจัดวัชพืช (บาท/ไร่) จำนวน 270 135 5. ค่าใช้จ่ายในการป้องกันกำจัดแมลง (บาท/ไร่) จำนวน 410 306 6. ค่าใช้จ่ายในการป้องกันกำจัดโรค (บาท/ไร่) จำนวน - - 7. ค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ(บาท/ไร่) จำนวน 1,350 745 8. ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยว (บาท/ไร่) จำนวน 500 500 9. ค่าขนส่งผลผลิต (บาท/ไร่) จำนวน 100 100 • ผลผลิต (ก.ก./ไร่) จำนวน 944 952 • ต้นทุนการผลิตรวม (บาท/ไร่) จำนวน 3,498 2,634 • ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/ก.ก.) จำนวน 11 11 • กำไร (บาท/ไร่) จำนวน 6,890 7,838

  13. องค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินโครงการองค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินโครงการ

  14. การเตรียมแปลงก่อนหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว จะมีการกระจายฟางและไถกลบตอซังข้าว เพื่อเพิ่มธาตุอาหารและอินทรียวัตถุภายในดิน หมักฟางโดยการใช้น้ำหมักชีวภาพ หลังจากนั้น 10 วัน ไถคราด เตรียมดินเพื่อหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวพร้อมเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำมาวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช โดยเก็บตัวอย่างดินที่ความลึก 10 เซนติเมตร สุ่มเก็บตัวอย่างดิน 20 จุดภายในแปลงเรียนรู้ เมื่อเก็บตัวอย่างดินได้แล้ว จะนำมาตากในที่ร่มให้ดินแห้ง แล้วบดให้ละเอียด นำมาวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช

  15. การเตรียมเมล็ดพันธุ์ แช่เมล็ดพันธุ์ด้วยเชื้อราไตรโครเดอร์มา ในอัตรา เชื้อ 2 กิโลกรัมต่อน้ำ 100 ลิตร เพื่อป้องกันโรคเชื้อราและเร่งอัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์ • หว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว ในอัตรา 20 – 25 กิโลกรัม/ไร่ โดยใช้พันธุ์พิษณุโลก 2 จากศูนย์ส่งเสริมและผลิตเมล็ดพันธุ์ ข้าวชุมชน • หลังจากหว่านข้าว 7 วัน ฉีดยาคุมฆ่าหญ้า • เมื่อต้นข้าวอายุได้ 10 วัน ไขน้ำเข้านาให้มีความสูง 5 – 10 เซนติเมตร

  16. เมื่อต้นข้าวอายุได้ 15 – 20 วัน จะปล่อยแตนเบียนในอัตรา 1 ไร่ ต่อ แตนเบียน 10,000 ตัว เพื่อป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูข้าว • เริ่มสำรวจแมลงตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร ทุก 3-4 วัน จดบันทึกและวิเคราะห์แนวโน้มการระบาดของแมลงศัตรูข้าว • มีการดูแลรักษาระดับน้ำภายในแปลงนาให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ

  17. ตัวอย่างดินจะนำมาวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช โดยใช้ชุด ตรวจสอบ N-P-K ในดินแบบรวดเร็ว (Soil Test Kit)ซึ่งวิเคราะห์แล้วมีไนโตรเจนในระดับสูง ฟอสฟอรัสในระดับต่ำ และโพแทสเซียมในระดับปานกลาง มี pH เป็นกลาง และเป็นชุดดินสระบุรี(ตรวจสอบโดยการหาพิกัดของพื้นที่แปลงเรียนรู้ ด้วยเครื่อง GPS ) โดยจะใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ การใช้ปุ๋ย N-P-K ในชุดดินสระบุรี ดังนี้ • ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 เมื่อต้นข้าว อายุ 30 วัน ปุ๋ยเคมี สูตร 0-0-60 จำนวน 5 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยเคมี สูตร 18-46-0 จำนวน 9 กิโลกรัม/ไร่ • ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 เมื่อต้นข้าว อายุ 60 วัน ปุ๋ยเคมี สูตร 46-0-0 จำนวน 3 กิโลกรัม/ไร่

  18. ภายในแปลงเรียนรู้นี้จะใช้สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืชภายในแปลงเรียนรู้นี้จะใช้สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืช เมื่อมีความจำเป็นเท่านั้น หากมีการระบาดของแมลงศัตรูข้าวจะใช้เชื้อราบิวเวอร์เรียในการกำจัด

  19. ได้ดำเนินการถ่ายทอดขยายผลความรู้ในเรื่องการลดต้นทุนการผลิตข้าวให้กับเกษตรกร จำนวน 10 ราย ได้แก่ • 1. นายชูเกียรติ สุพรรณคง 239 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 2. นายสุคิด จันทร์พูน 75 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 3. นายสวัสดิ์ ชีพนุรัตน์ 144/1 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 4. นายประเสริฐ เอี่ยมสำอางค์ 488 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 5. นายสิงห์ โตทอง 84 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 6. นางสาวประมวล พงษ์สุทัศน์ 22/1 ม.4 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 7. นายสมนึก ขันทอง 21/1 ม.5 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 8. นายมิตร สิงห์ทอง 33 ม.2 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 9. นายบุญเกิด แสงเจริญธรรม 45/2 ม.2 ต.สวนแตง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี • 10. นายอุดร รูปโฉม 96/2 ม.3 ต.ดอนโพธิ์ทอง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี

  20. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานโครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าวปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานโครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าว 1. การวางแผนการดำเนินโครงการให้ตรงกับช่วงการผลิตข้าวของเกษตรกร ต้นแบบ 2. การคัดเลือกเกษตรกรขยายผล โดยการคัดเลือกเกษตรกรที่มีความสนใจ ในเรื่องลดต้นทุนการผลิตข้าวเป็นหลัก 3. บรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. การจัดทำแปลงสาธิต สถานที่ตั้งแปลงสะดวกในการที่เกษตรกรสามารถ เข้าไปศึกษาเรียนรู้ได้ง่าย 5. การให้ความสนใจของผู้นำในชุมชน

  21. สวัสดี

More Related