1 / 7

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม. สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต

kaoru
Download Presentation

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต • ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพื่อช่วยในการดำรงชีวิตซึ่งสิ่งแวดล้อมจัดเป็นปัจจัยที่ไม่มีชีวิตสิ่งแวดล้อมที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตได้แก่ • แสง • อุณหภูมิ • น้ำ • ดินและแร่ธาตุในดิน • อากาศ

  2. ความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (intraspecificrelationship) • ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ในลักษณะต่างๆ มีดังนี้ • ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน • ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย • ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน • ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อกับผู้ล่า • ความสัมพันธ์แบบปรสิต

  3. ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน (mutualism)  การได้รับประโยชน์ร่วมกัน เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองชนิด เช่น • แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดน้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้ก็มีแมลงช่วยผสมเกสร  นกเอี้ยงกับควาย นกกินแมลงบนหลังควาย และควายก็ไม่ถูกแมลงรบกวน

  4. ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย (commensalisms) • เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรที่ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ จากการอาศัยอยู่ร่วมกันแต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์แต่อย่างใด เรียกว่าความสัมพันธ์แบบ “ภาวะอิงอาศัย” เช่น ต้นไม้ในแถบป่าดงดิบจะเป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์อื่น ๆลำต้นและกิ่งจะเป็นสถานที่ที่ให้พืชอื่นเกาะอาศัยอยู่ เช่น กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ /พลูด่างกับต้นไม้ • ปลาฉลามกับเหาฉลาม

  5. ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน(mutualism)ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน(mutualism) • ภาวะพึ่งพากัน (mutualism)สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่ายได้ประโยชน์ร่วมกัน แต่ต้องอยู่ร่วมกันตลอดเวลา หากแยกกันอยู่จะทำให้อีกฝ่าย ไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่นไลเคนโพรโทซัวลำไส้ปลวกแบคทีเรียในปมรากพืชตระกูลถั่ว • ปูเสฉวนและดอกไม้ทะเล • มดอาศัยบนต้นอะเคเซีย

  6. ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อกับผู้ล่า (Predation) ภาวะล่าเหยื่อ( Predation : + ,) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือถูกล่า เรียกว่า เหยื่อ ( prey) เช่น-กบกับแมลง :กบเป็นผู้ล่า แมลงเป็นผู้ถูกล่า

  7. ความสัมพันธ์แบบปรสิต (parasitism) • สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งได้รับอันตรายโดยปกติ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกว่าจะได้รับสารอาหารจากโฮสต์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษแบบหนึ่งของการล่าเหยื่อ พยาธิตัวตืด โพรโทซัวก่อโรคไข้มาเลเรีย เป็นตัวอย่างของปรสิตภายใน ส่วนปรสิตภายนอก ได้แก่ยุงดูดเลือดของสัตว์เลี้ยงลูก พยาธิตัวตืด กาฝากมะม่วง เหากับคน

More Related