1 / 37

เราจะป้องกัน รักษา และช่วยเหลือประชาชน จากโรคตับ จากแอลกอฮอล์ได้อย่างไร

เราจะป้องกัน รักษา และช่วยเหลือประชาชน จากโรคตับ จากแอลกอฮอล์ได้อย่างไร. รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง. วัตถุประสงค์. เสนอแนะบทบาทของผู้เกี่ยวข้องเพื่อช่วยป้องกันประชาชนจากโรคตับจากแอลกอฮอล์ เสนอแนะบทบาทของทีมสุขภาพในการรักษา

kane
Download Presentation

เราจะป้องกัน รักษา และช่วยเหลือประชาชน จากโรคตับ จากแอลกอฮอล์ได้อย่างไร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เราจะป้องกัน รักษา และช่วยเหลือประชาชน จากโรคตับ จากแอลกอฮอล์ได้อย่างไร รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง

  2. วัตถุประสงค์ เสนอแนะบทบาทของผู้เกี่ยวข้องเพื่อช่วยป้องกันประชาชนจากโรคตับจากแอลกอฮอล์ เสนอแนะบทบาทของทีมสุขภาพในการรักษา เสนอแนะบทบาทของทีมสุขภาพในการช่วยเหลือผู้ป่วยและญาติให้ห่างไกลโทษของแอลกอฮอล์

  3. Effects of High-Risk Drinking

  4. ผลกระทบด้านสังคม • Domestic problems • Loss of friends • Difficulties in marriage • or others significant relationships • Separation and divorce • Neglect of children • Occupational • Lateness or absences from work • Demotion / failure to • gain promotion • Financial problems • Loss of regular income from • from employment • Hardship from money spent • on alcohol • Gambling debts • Legal problems • Drink – driving offences / loss • of licence • Property crime • Assault • Homicide

  5. การป้องกันประชาชนจากโรคตับจากแอลกอฮอล์การป้องกันประชาชนจากโรคตับจากแอลกอฮอล์ นโยบายระดับชาติ การดำเนินงานระดับกระทรวงสาธารณสุข และโรงเรียนแพทย์ บทบาทของทีมสุขภาพ

  6. นโยบายระดับชาติ เพื่อการป้องกันโรคตับจากแอลกอฮอล์ การรณรงค์ด้านสุขภาพ การให้การศึกษา การบังคับใช้กฎหมาย มาตรการด้านภาษี

  7. เป้าหมาย เป้าหมาย ระดับบุคคล เป้าหมาย ระดับโครงสร้าง / นโยบาย เป้าหมายในระดับบุคคลและระดับโครงสร้าง / นโยบาย ตระหนัก จิตสำนึก ทัศนคติ ทางสังคม นโยบาย กฎหมายต่างๆ รู้ / เข้าใจ พฤติกรรม ปัญหา บรรทัดฐาน ทางสังคม แนวทาง แก้ไขปัญหา การป้องกันปัญหา การกระทำ ภายหลัง การบริโภค พฤติกรรม สุขภาพ ท่าที กดดัน ผู้บริโภค การบริโภค

  8. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มแนวร่วมในการกระตุ้นกลุ่มเป้าหมายให้กระทำพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ กลุ่มซึ่งได้รับการคาดหวังให้กระทำพฤติกรรมพึงประสงค์ หรือหยุดการกระทำพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เป้าหมายในระดับบุคคลและระดับโครงสร้าง / นโยบาย บุคคลใกล้ชิด บุคคลมีชื่อเสียง กลุ่มผู้ดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มเสี่ยง บุคคลที่ จัดกิจกรรมเกี่ยวข้อง วัย อาชีพ การกระทำกิจกรรมเสี่ยง พฤติกรรม

  9. แนวคิดหลักในการรณรงค์ / ให้การศึกษา การนำเสนอผลด้านลบอันเกิดจากการกระทำพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม การสนับสนุนให้กระทำพฤติกรรม / ไม่กระทำพฤติกรรมบางประการ แนว คิด หลัก ใน การ รณรงค์/การ ให้ การ ศึกษา • ขาดสติในการควบคุมสภาวะทางร่างกาย • การเกิดอุบัติเหตุ • การสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน • การทำร้ายบุคคลใกล้ชิด • การจับกุมและลงโทษ • ปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • งดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • เลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • เลือกกระทำกิจกรรมอื่นๆ แทน การสอดแทรกประเด็นด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / อันตรายให้เป็นส่วนหนึ่งของประเด็นสุขภาพ การนำเสนอข้อมูลที่ “ท้าทาย” ความเชื่อของกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับพฤติกรรม - บรรทัดฐานการดื่ม การชี้ให้เห็น “ปัจจัยเสี่ยง” ต่อสุขภาพ

  10. นโยบายระดับชาติเพื่อควบคุมการบริโภคสุรานโยบายระดับชาติเพื่อควบคุมการบริโภคสุรา รัฐบาล และพรรคการเมือง 1. การเพิ่มภาษีและการไม่มีเขตปลอดภาษี 2. การลดการเข้าถึง - การกำจัดอายุผู้ซื้อและผู้ขาย - Zoning สถานที่ขาย - การเพิ่มราคาใบอนุญาตขาย - ฉลากคำเตือน (เพิ่มให้มีภาพคำเตือน) - การห้ามใช้คำที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด - การห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขวดจิ๋ว บรรจุภัณฑ์ จูงใจเด็ก

  11. นโยบายและกฎหมายเพื่อควบคุมการบริโภคนโยบายและกฎหมายเพื่อควบคุมการบริโภค รัฐบาล และพรรคการเมือง 1. การควบคุมการได้รับอันตรายจากการดื่มแล้วขับยานพาหนะ (โดยเพิ่มโทษ และสนับสนุนให้มีความเข้มงวดในการบังคับใช้) 2. การควบคุมการโฆษณา (เป้าหมาย Total Ban) 3. การรณรงค์ให้ความรู้ (เน้นการให้เข้าใจกฎหมายและพิษภัย) 4. การบังคับใช้กฎหมาย การให้หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ ให้ความร่วมมือในการบังคับใช้กฎหมาย 5. การผลักดันให้เป็นนโยบายสำคัญของจังหวัด 6. การผลักดันให้เป็นนโยบายสำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  12. การดำเนินงานระดับกระทรวงสาธารณสุข และโรงเรียนแพทย์ • การบำบัดรักษา สนับสนุนการตั้งคลินิกฯ และให้สามารถใช้สิทธิรักษาพยาบาลได้) • การกำหนดให้สถานที่ราชการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมดเป็นเขตปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • การสนับสนุนให้มีการตั้งคลินิกเลิกสุรา (ในทุกโรงพยาบาล) • การให้สิทธิการรักษาพยาบาลกรณีสมัครใจเลิก • การให้ค่าตอบแทนพิเศษกับผู้รักษา • ลดปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา

  13. บทบาทของทีมสุขภาพ • Hepatologist or Internist • Psychiatrist • Psychotherapist • Nutritionist • Nurses • Social worker

  14. Mortalilty Rate of Liver Disease and Cirrhosisin Thailand, 1977 - 2003

  15. ลักษณะพฤติกรรมการดื่ม Patterns of Alcohol Use Alcohol dependent 5% Hospitalized patients Harmful drinker 20% Hazardous drinker 35% Low risk drinker 40% Abstainer

  16. ปัญหาสุขภาพจิตที่พบในผู้ที่ดื่มสุราปัญหาสุขภาพจิตที่พบในผู้ที่ดื่มสุรา • Immediate effects (getting drunk) • อารมณ์และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง • อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง • การตัดสินใจและการควบคุมตัวเองไม่ดี มีปัญหาการนอน • Intoxication • Long term effects • Alcohol Dependence (addiction) • Alcohol – Induced Disorder

  17. Complication associated with chronic alcoholic drinker Neurologic disorders Intoxication Addiction Withdrawal syndrome Seizures Delirium tremens Wernicke – Korsakoff syndrome Alcoholic cerebellar degeneration Peripheral neuropathy Ischemic stroke Intracranial hemorrhage Malignancy Oral and pharyngeal Laryngeal Esophageal Stomach Breast Liver Colon Cardiac disorders Hypertension Cardiomyopathy Arrhythmias Hematologic disorders Bone marrow suppression Nutritional and blood loss anemia

  18. Complication associated with chronic alcoholic drinker Immune system disorders Impaired immune system More frequent infections Hepatic dysfunction Cirrhosis Alcoholic hepatitis Gastrointestinal disorders Gastritis Esophagitis Duodenitis Peptic ulcer disease Pancreatitis Psychiatric Psychiatric comorbidities are exacerbated Suicide risk increases Others Sleep disturbance Sexual dysfunction Obstructive sleep apnea Periodic limb movement disorders Accidents and injury (to self and others) Musculoskeletal Alcoholic myopathy Osteoporosis

  19. Patho-physiology of alcoholic induced liver injury

  20. Patho-physiology of alcoholic induced liver injury

  21. Histo-pathological features of alcoholic hepatitis Fat droplet neutrophils Intracellular amorphous eosinophilic inclusion (Mallory bodies) Rasmi Agni NEJM 2009:360:2758-69

  22. HEAVY ALCOHOLIC NORMAL LIVER 90 - 100% FATTY LIVER 8 - 20% 10 - 35% Cirrhosis Alcoholic Hepatitis ? (40-50%) Day CP. et al. Biochem Biophys Acta 1994;1215:33-48. Galambos JT. Gastroenterology 1972;63:1026-1035. Jackson R. et al. Lancet 1995;346:716. Sorensen TI. Liver 1989;9:189-197. Mezey E. Prog Liver Dis 1982;7:555-572. Lelbanc WK. Progress in liver disease, vol 5. New York: Grune & Stratton; 1976:494-515.

  23. Treatment of alcoholic hepatitis MR Lucey et al NEJM 2009:360:2758-69

  24. Pentoxifylline verse prednisolone for severe alcoholic hepatitis: A randomized controlled trial Causes of death in patients receiving pentoxifylline or prednisolone in the treatment of severe alcoholic hepatitis (n = 34) Morbidity/complication profile of patients receiving pentoxifyline (group I) or prednisolone (group II) in the treatment of severe alcoholic hepatitis Death 100 Group I 95 Group II 90 85 Survival probability 80 75 70 65 60 0 20 40 60 80 100 De BK et al World J Gastroenterol 2009 15(13):1613-19

  25. Alcoholic liver diseases Alcohol > 90% 10 - 30% Alcoholic hepatitis Alcoholic fatty liver 10-15% 30 – 50 % 40 – 50 % 50 % 80 - 90% Regression Chronic alcoholic hepatitis Regression Fibrosis 20 – 40 % Acute intoxication Death Cirrhosis Death HCC

  26. Five - year survival curves of 122 patients with excessive alcohol intake and cirrhosis, according to Child-Pugh class at including Pessione F, et al. Liver International 2003;23:45-53.

  27. Five - year survival curves patients with excessive alcohol intake and cirrhosis with and without abstinence, according to Child–Pugh class (P=0.002) (P=0.04) Pessione F, et al. Liver International 2003;23:45-53.

  28. Effect of alcohol on natural history of HCV • Increase risk of cirrhosis • Increase risk of HCC

  29. Alcohol increase risk of cirrhosis in HCV Factors associated with increased risk • Age at infection older than 40 years • Consumption more than 260 g / week • Male gender RR=3.6 (95% CI,1.73-7.52) • Poynard T et al Lancet 1997;349:825-32 • Thomus DL et al JAMA 2000;284:450-6

  30. Alcohol increase risk of HCC in HCV (odds ratio) Tager A et al Int J Cancer 1999;81:695-9

  31. Five - year survival curves of Child-Pugh class C patients with excessive alcohol intake and cirrhosis with and without HBsAg and/or anti - HCV Pessione F, et al. Liver International 2003;23:45-53.

  32. Alcohol and Hepatocellular carcinoma 1 95% confidence interval, -2 Sample size to small Abdulla E, et al. Int J Cancer 1992;51:537-41.

  33. Cohort study of alcoholic cirrhosis in Srinagarind hospital KKU • Follow up time 74 months (July 2000-September 2006) • Male 74,Female 8 • Co-morbid: HCV19,HBV6,HCV+HBV1,DM22 • Child status:A19,B19,C44

  34. Cohort study of alcoholic cirrhosis in Srinagarind hospital KKU • Death 12(Child C=11,B=1) septicemia10,rupture HCC1, UGI Bleeding1,Electrolyte imbalance 1. • Continue drinking 58, death 10(17.2%) vs Stop drinking 24,death 2(8.3%) (p<0.05) • Hepatocellular carcinoma 5 (6.7%) • Child status improved 4 (C B 3,B A1 ) • UGI Bleeding 60 episodes, Liver failure 1, SBP 21episodes, Hepatic encephalopathy 12, Alcoholic withdrawal 11

  35. Cohort study of alcoholic cirrhosis in Srinagarind hospital KKU Infection • Septicemia 13,septic shock 8,pneumonia 17, Cellulitis and soft tissue infection 5. Renal • ARF 25,Hepatorenal syndrome 1 CNS • DT 7,Rum fit 2, psychosis 1,Head injury1,CVA1 CVS • Cardiomyopathy 1, AMI 1, Metabolic • Hypokalemia 1 VT (death), Hypoglycemia 2

  36. Thank you

More Related