500 likes | 594 Views
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3. การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงาน. งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงาน.
E N D
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน • งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย • เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และ สื่อมัลติมีเดีย
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก
งานด้านเอกสาร รายงาน หรืองานสำนักงาน งานทางด้านการพิมพ์เอกสาร หรือรายงานพวกนี้ส่วนใหญ่โดยทั่วไปแล้วจะใช้โปรแกรม ในชุด Microsoft Office ซึ่งเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปมาแล้ว เช่น Microsoft Word , Excel, Powerpointสำหรับพิมพ์งาน ทำแผนผังตาราง หรือทำงานนำเสนอ เป็นต้น
งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย งานด้านการออกแบบพวกนี้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีคุณสมบัติสูง ใช้โปรแกรมพวก Photoshop ,IlIustratorสำหรับงานพวกตัดต่อภาพทำพวกกราฟฟิกต่างๆ และสำหรับงานตัดต่อวิดีโอจะเป็นพวกโปรแกรม Sony Vegas Pro ,Movie Maker เป็นต้น
เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก คอมพิวเตอร์สำหรับด้านบันเทิง เช่น ดูYoutube ดูภาพยนตร์ ฟังเพลงเล่น Facebook และเล่นเกมเช่น DotAการใช้งานด้านนี้ต้องใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งสเปคสูงตามโปรแกรมหรือเกมนั้นๆ ยิ่งกราฟิกสวยๆยิ่งต้องใช้สเปคสูง
การรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่นการรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่น
การรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่นการรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่น ตอบRAM รับประกันตลอดอายุการใช้งาน(Livetime Warranty) มีความแตกต่างที่อุปกรณ์อื่นๆจะรับประกันเป็นปีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิดอุปกรณ์ หมายเหตุ ในกรณีที่ RAM เกรดทั่วไป จะรับประกันเพียงแค่ 1 ปี
เสริมระยะเวลารับประกันของอุปกรณ์เสริมระยะเวลารับประกันของอุปกรณ์
การรับประกันสินค้า • ระยะเวลาในการรับประกัน ระยะเวลาในการรับประกันสินค้าขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์และชิ้นส่วนอุปกรณ์แต่ละชิ้น ซึ่งตามปกติแล้วคอมพิวเตอร์แบบประกอบเองมักมีการรับประกัน 1 ปี แต่ถ้าเป็นเครื่องยี่ห้อ (Brand Name) ซึ่งมีราคาแพงกว่าอาจมีการรับประกันถึง 3 ปี
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 1.ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) ผู้ผลิตที่มีชื่อเสียง คือ Seagate และ Quantum ซึ่งนำเข้าโดยบริษัทอินแกรมและดีคอมพิวเตอร์ มีการรับประกันนานถึง 3 ปี ถ้าเสียหายใน 1 เดือนแรก บริษัทจะเปลี่ยนฮาร์ดดิสก์ใหม่ให้ทันที
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 2.เมนบอร์ด (Main board) ส่วนใหญ่จะมีการรับประกันขั้นต่ำ 1 ปี แต่ถ้าเป็นเมนบอร์ดที่มีชื่อเสียงจะมีการรับประกันถึง 3 ปี โดยทั่วไปถ้าเมนบอร์ดเสียภายในเวลา 1 เดือนร้านจะเปลี่ยนให้ใหม่ (Clamed) ถ้าเสียหายหลังจากนั้นทางร้านจะส่งซ่อมโรงงาน และให้เรามารับกลับเมื่อซ่อมเสร็จแล้ว
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 3.ซีพียู (CPU) ซึ่งซีพียูที่มีชื่อเสียง คือ ค่ายของ Intel นำเข้าโดยบริษัทอินแกรมและดีคอมพิวเตอร์ ส่วนซีพียูของค่าย AMD นำเข้าโดยบริษัท Power Highland และค่ายของ VIA ซึ่งซีพียูของทั้งสามบริษัทนี้มีการรับประกันสินค้า 3 ปี โดยทั่วไปถ้าซีพียูเสียหายภายใน 1 เดือน ทางร้านจะเปลี่ยนให้ใหม่ แต่ถ้าเสียหายหลังจากนั้นทางร้านจะส่งคืนโรงงานรอ การเคลมประกันต่อไป
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 4.หน่วยความจำหรือแรม (RAM) จะแบ่งออกเป็น 2 เกรด คือ เกรดดีจะมีการรับประกันตลอดอายุการใช้งาน (Livetime Warranty)ประเภทนี้จะมีราคาแพงกว่าแรมชนิดอื่น ซึ่งมักจะเป็นแรมเกรดทั่วไปที่รับประกันเพียง 1 ปี
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 5.ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) ส่วนใหญ่มีการรับประกัน 1 ปี บางยี่ห้อซึ่งมีราคาถูกมากจะรับประกันเพียง 1 เดือนเท่านั้น
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 6.ซีดีรอม (CD-ROM) รับประกัน 1 ปี แต่ถ้าหากเสียหาย หรือมีปัญหาก็ให้รีบส่งทางร้านภายใน 15 วัน ทางร้านจะเปลี่ยนสินค้าใหม่ ถ้าหลังจากนั้นคงต้องส่งเคลมประกันที่โรงงานและมารับกลับเองเมื่อซ่อมเสร็จ
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 7.การ์ดจอ และการ์ดเสียง (Video & Sound Card) รับประกัน 1 ปี ส่วนใหญ่อุปกรณ์ประเภทนี้มักไม่เสียง่าย แต่จะมีปัญหาในเรื่องของการเสียบการ์ดไม่แน่น ทำให้ไม่มีภาพปรากฏบนหน้าจอเท่านั้น
การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 8.แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) รับประกัน 1 ปี ซึ่งแหล่งจ่ายไฟบางครั้งมีผลต่อการทำงานของเครื่องเช่นกัน สินค้าประเภทอื่นมักมีใบรับประกันสินค้า แต่สินค้าประเภทคอมพิวเตอร์มักใช้สติ๊กเกอร์รับประกัน (Warranty Sticker) เพื่อยืนยันว่าสินค้านี้มาจากร้านของตนจริง โดยมีการกำหนดวันที่จำหน่าย และระยะเวลาในการรับประกันไว้
สติ๊กเกอร์รับประกัน 1.สติ๊กเกอร์ที่กำหนดเวลาเริ่มต้นการรับประกัน ซึ่งเป็นแบบที่นิยมกันมากกว่าเพราะง่ายต่อการบันทึกวันเริ่มต้นรับประกันไป เนื่องจากอุปกรณ์แต่ละชิ้นมีระยะเวลาในการรับประกันไม่เท่ากัน เช่น ซื้อสินค้าไปเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2002 เป็นต้น
สติ๊กเกอร์รับประกัน 2.สติ๊กเกอร์กำหนดเวลาสิ้นสุดการรับประกัน จะทราบเวลาสิ้นสุดการรับประกันสินค้าได้ อย่างชัดเจนจากการเขียนลงบนสติ๊กเกอร์นั้น วันสิ้นสุดการรับประกันในสินค้ามักมีตัวอักษรภาษาอังกฤษเขียนไว้ว่า EXPIRE อยู่ด้วยเสมอสติ๊กเกอร์แบบนี้ที่บริเวณด้านล่างมักจะมีคำว่า “Warranty Void If Remove”
การเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • การเลือกหน่วยประมวลผลกลาง • การเลือกเมนบอร์ด • การเลือกหน่วยความจำแรม • การเลือกฮาร์ดดิสก์ • การเลือกกราฟิกการ์ด • การเลือกจอภาพ
การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 1.ความเร็วของ ซีพียู มีหน่วยเป็น “เฮิรตซ์ (Hz)” ก็คือการที่ซีพียูทำงาน 1 ครั้งต่อ 1 วินาทีนั้นเอง แต่ในปัจจุบันซีพียูนั้นมีความเร็วมากอยู่ในระดับ “กิกะเฮิรตซ์ (GHz)” แล้ว เช่น 1 กิกะเฮิรตซ์ คือซีพียูทำงานได้ถึง 1 พันล้านครั้งต่อวินาที ยิ่งมีค่าสัญญาณนาฬิกามากเท่าไหร่ก็สามารถทำงานได้รวดเร็วเท่านั้น เช่น AMD Phenom 9650 2.3GHz
การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 2.หน่วยความจำแคช(Cache) หน่วยความจำแคชก็เป็นหน่วยความจำหนึ่งที่ประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อ เพราะแคชมีหน้าที่ในการจัดเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ได้ใช้บ่อยๆ เพื่อส่งไปยังซีพียู ซึ่งแคชเองทำงานร่วมกับแรมเพื่อเป็นการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่าง 2 อุปกรณ์ ให้เชื่อมต่อกันเพราะฉะนั้นแล้วยิ่งมีแคชมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีความเร็วเท่านั้นด้วย
การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 3.บัส(BUS) ถือได้ว่ามีความสำคัญเหมือนกัน เพราะบัสคือ ทางนำไฟฟ้าที่เป็นทางเดินของข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบัสในคอมพิวเตอร์คือบัสข้อมูล (Data bus) ซึ่งมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz) จะมีค่า FSB อย่างเช่น FSB 1066 เป็นต้น
การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 4.ซีพียู จากค่ายต่างๆ สำหรับซีพียูนี้ก็มี 2 ค่าย ใหญ่ที่ผลิตออกมาให้เราได้ใช้กันคือ Intel และ AMD
การเลือกเมนบอร์ด เมนบอร์ด(Main board) ทำหน้าที่เป็นส่วนที่เชื่อมต่อการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทั้งหมดที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง ดังนั้นการเลือกเมนบอร์ด นั้น ต้องคำนึงถึงอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้งานเป็นหลัก โดยอุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดมีดังนี้
อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดอุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ด • โปรเซสเซอร์ (Processor) หน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU • หน่วยความจำ (Memory) Random Access Memory หรือ Ram แบ่งออกเป็นหน่วยความจำแบบ SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM, DDR2 และ DDR3 • ชิปเซต (Chipset) ทำหน้าที่สนับสนุนและบริหารจัดการภายในระบบการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ • AGP และ PCI Express ตัวประมวลผลภาพผ่านทางจอภาพที่รองรับการทำงานร่วมกับชิปเซต หน่วยความจำ และ DriectX
อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดอุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ด • ระบบเสียง (Sound Onboard) • ระบบเครือข่าย (LAN) • คอนเน็กเตอร์และพอร์ต (Connector & Port) เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่เมนบอร์ดทุกตัวจะต้องมีไว้รองรับการทำงาน
การเลือกหน่วยความจำแรมการเลือกหน่วยความจำแรม แรมในปัจจุบันที่มีจำหน่ายและใช้กันโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ DDR, DDR2 และ DDR3 การเลือกหน่วยความจำแรมมีหลักในการพิจารณาดังนี้ • Main Board (เมนบอร์ด) ที่ใช้อยู่ เพราะเมนบอร์ดแต่ละรุ่นจะลองรับการทำงานของแรมคนละแบบกัน • เลือกที่ความจุและขนาดที่ต้องการ การเลือกความจุและขนาดของแรมดูจากปริมาณการทำงานและโปรแกรมต่างๆ • เลือกแบบSingle ความจุสูงแถวเดียวหรือ Dualความจุเท่ากัน 2 แถว
การเลือกฮาร์ดดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลปริมาณมากๆ ฮาร์ดดิสก์แบ่งออกได้หลายชนิดตามการเชื่อมต่อ (อินเทอร์เฟซ) โดยฮาร์ดดิสก์ที่นิยมกันทั่วไปได้แก่ • แบบ IDT (Integrate Drive Electronics) เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่าที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้สายแพขนาด 40 เส้น โดยสายแพ 1 เส้นสามารถที่จะต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัว มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 8.3 เมกะไบต์ต่อวินาที • แบบ Serial ATA เป็นอินเทอร์เฟซที่กำลังนิยมมากในปัจจุบัน มีอัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกสูงสุดถึง 150 เมกะไบต์ต่อวินาที
การเลือกฮาร์ดดิสก์ การเลือกฮาร์ดดิสก์มีหลักในการพิจารณาดังนี้ • ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ ควรเลือกซื้อให้เหมาะสมกับการใช้งานและไม่ควรเผื่อพื้นที่ไว้ใช้งานมากจนเกินจำเป็น • ความเร็วรอบ หรือการหมุนของจาน ยิ่งหมุนเร็วมากก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการเข้าถึงหรือค้นหาข้อมูลมีความรวดเร็วขึ้นตามไปด้วย • หน่วยความจำบัฟเฟอร์ หรือแคช เป็นที่พักข้อมูลก่อนที่จะส่งไปยังคอนโทรลเลอร์บนการ์ด หรือเมนบอร์ด บัฟเฟอร์ หรือ แคชที่เพิ่มขึ้นมีส่วนช่วยในการทำงานของฮาร์ดดิสก์ให้เร็วขึ้น
การเลือกกราฟิกการ์ด 1.ประเภท ในปัจจุบันนั้นมีประเภทของการ์ดแสดงผลที่นิยม อยู่ 2 ประเภทคือ - AGP สำหรับ AGP นั้นมีความเร็วที่ 266 MB /s นั้นคือความเร็วที่ตั้งแต่เริ่มแรก แล้วได้มีการพัฒนาแต่มา คือ 2x – 8x ซึ่งในปัจจุบันได้มีการลดความสำคัญลงไปเพราะมีสล็อต ที่เร็วกว่ามาแทน แต่ยังมีผู้ที่ใช้เมนบอร์ดรุ่นเก่าอยู่ยังต้องใช้ แบบ AGP อยู่ - PCI Express จะมีความเร็วกว่า AGP ซึ่งเป็นมาตรฐานแบบใหม่ที่เข้าแทนการเชื่อมต่อ แบบ AGP และแบบ PCI ธรรมดา โยความสามารถของ PCI Express คือมีการควบคุมการรับส่งข้อมูลขึ้นมา เรียกว่า “สวิตช์(Switch) สำหรับข้อดีที่ความเร็วเร็วกว่า AGP นั้น ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วถึง 250 MB/s เลยทีเดียว และสามารถปรับขนาดของความกว้างของบัสเองได้มากกว่าทำให้ความเร็วไปได้ถึง 4 GB/s มากว่า AGP ถึง 2 เท่า
การเลือกกราฟิกการ์ด 2.ชิปการฟิก nVidia : ถือได้ว่าเป็นผู้ผลิตที่ได้ผลิตมาตั้งแต่ต้น ผลิตมาเป็นเวลานาน ที่โด่งดังในตอนนั้นก็คือ TNT 2 ที่เป็นกราฟการ์ด 3 มิติ ที่มีประสิทธิภาพในตอนนั้นและมีการพัฒนาต่อมาเรื่อยๆจน ในปัจจุบันมีชื่อว่า GeForce ATi : ได้พัฒนามาเรื่อยๆ ซึ่งเป็นผู้ผลิตกราฟิกตระกูล Radeonที่มีประสิทธิภาพสูงได้รับการยอมรับจากคนเล่นเกมส์ต่างๆ ว่ามีประสิทธิภาพเยื่ยมเลยทีเดียว
การเลือกกราฟิกการ์ด 3.หน่วยความจำ ถือได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ต้องคำนึงถึง เพราะเป็นส่วนที่ช่วยให้ความเร็วในการแสดงผลรวดเร็วมากขึ้น ซึ่งหน่วยความจำของการ์ดแสดงผล เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์จำต้องมีหน่วยความจำแรม ส่วนของการ์ดแสดงผลนั้นก็มีหน่วยความจำที่ทำงานเช่นเดียวกัน นั้นมีหลายประเภทในปัจจุบันเช่น GDDR 2 GDDR3 เป็นต้น
การเลือกจอภาพ 1.เลือกขนาดที่เหมาะสมกับการใช้งาน 2.ความละเอียดของจอภาพ 3.Dot Pitch 4.จำนวนเม็ดสี(Bit Depth) 5.ค่า Viewing Angle 6.Response time 7.ช่องต่อแบบอะนาล็อค(Analog)
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาซีพียู 1.ระมัดระวังอย่าสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นกับบอดี้ 2. ใช้พัดลมหรือที่เป่าเป่าลมตามซอกที่มีฝุ่นจับ
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาเมนบอร์ด ทำการปัดฝุ่นให้สะอาดบ้าง ระวังอย่าให้เมนบอร์ดโดนน้ำหรือตกหล่น
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • อย่าให้วัตถุหรือน้ำไปกระทบหน้าจอ • เปิดไฟที่จอก่อนเปิดสวิทซ์ไฟที่ CPU • ปรับความสว่างของจอภาพให้เหมาะสม การดูแลรักษาหน้าจอ
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาการ์ดแสดงผล นำยางลบมาถูๆ ตรงบริเวณหน้าสัมผัสที่เป็นสีทอง
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. ควรวางเมาส์ไว้ที่แผ่นรองเมาส์ทุกครั้ง 2. อย่ากระแทกเมาส์กับพื้น 3. ทำความสะอาดเมาส์บริเวณลูกกลิ้ง การดูแลรักษาเมาส์
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. ปัดฝุ่นและทำความสะอาดเป็นประจำ 2. อย่าทำน้ำหกถูกแผงแป้นพิมพ์ 3. คลุมผ้าทุกครั้งหลังการใช้งาน การดูแลรักษาแป้นพิมพ์
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาฮาร์ดดิสก์ 1.ติดตั้ งเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ด้านหลังของตัวเครื่องห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 3 นิ้ว 2.ควรเลือกใช้โต๊ะทำงานที่แข็งแรงป้องกันการโยกไปมา 3.ควรมีการตรวจสอบสถานภาพของ Harddiskด้วยโปรแกรม Utility
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. ไม่ควรนำแผ่นซีดี ที่เสียแล้ว หรือมีรอยขีดข่วนมากๆ มาอ่าน 2 .ไม่ควรใช้น้ำยาล้างหัวอ่านผิดประเภท 3. ใช้พู่กันเล็กๆ ช่วยในการปัดฝุ่นออกเสียก่อน จากนั้นจึงใช้น้ำยาทำความสะอาดเช็คเครื่องคอมฯ การดูแลรักษาซีดีรอมไดร์ฟ
การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ใช้แปรง หรือที่เป่าฝุ่น เป่าฝุ่นออกเป็นประจำ การดูแลรักษาพัดลมระบายความร้อน
นายธนภัทร แก้วประเสริฐ เลขที่ 2นายธัญจิรา สิงห์เรือง เลขที่ 11นางสาวจิราภา ธีรศรัณย์ เลขที่ 15นางสาววิชญาพร พลอยจิระชัย เลขที่ 18นางสาวอุษมา อุสายพันธ์ เลขที่ 21