1 / 60

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ. โดย คุณครู เพ็ญวดี ค้าสุวรรณ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. รายงานเชิงวิชาการ. การศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล การประมวลความรู้ ทฤษฏี หลักวิชาการ และประสบการณ์ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอเนื้อหาอย่างมีระบบ

Download Presentation

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนรายงานเชิงวิชาการการเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดย คุณครู เพ็ญวดี ค้าสุวรรณ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

  2. รายงานเชิงวิชาการ • การศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล • การประมวลความรู้ ทฤษฏี หลักวิชาการ และประสบการณ์ • การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล • การนำเสนอเนื้อหาอย่างมีระบบ • การใช้ ภาษาวิชาการ • การอ้างอิงตามแบบแผน

  3. ตัวอย่างรายงานเชิงวิชาการ • รายงานการศึกษา • รายงานการวิเคราะห์ • รายงานทางเทคนิค • รายการวิจัย • กรณีศึกษา

  4. การเขียนรายงานจากค้นคว้า • เป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง • สำคัญ จำเป็นสำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา • ฝึกให้คิดอย่างมีเหตุผล • ฝึกความสามารถในการใช้ภาษา

  5. การค้นคว้าด้วยตนเอง การศึกษาหาความรู้ นอกจากครูจะเป็นผู้บอกแล้ว เราสามารถหาความรู้จากแหล่งอื่นๆได้อีก เช่น จากหนังสือ บทความในวารสาร หนังสือพิมพ์ ซีดีรอม ชมนิทรรศการ ฟังวิทยุ สื่อต่างๆ ฯลฯ

  6. รายงาน (report) • เป็นการเขียนของ นักเรียนที่เรียบเรียงขึ้นจากการศึกษาค้นคว้า ในเรื่องต่างๆ ตามหัวข้อที่กำหนด เพื่อเสนอต่อผู้สอน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนวิชานั้นๆ • ผู้เขียนจะต้องเขียนรายงานตามรูปแบบที่กำหนดไว้ • รายงานที่ดีควรใช้เป็นแหล่งค้นคว้าของผู้อื่นได้

  7. วัตถุประสงค์ของการทำรายงานวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน • ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง • เพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ทางวิชาการอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง • พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ • พัฒนาทักษะการศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงานทางวิชาการ

  8. ขั้นตอนการทำรายงาน 1. เลือกเรื่องและตั้งชื่อเรื่อง 2. สำรวจแหล่งความรู้ ค้นหาข้อมูลอย่างคร่าวๆ 3. วางโครงเรื่อง 4. ค้นคว้าตามโครงเรื่อง อ่านและจดบันทึก 5. วิเคราะห์ สังเคราะห์ เรียบเรียงเนื้อเรื่อง และเขียนการอ้างอิง 6. เขียนบรรณานุกรม 7. ทำส่วนประกอบของรายงาน 8. ตรวจสอบความถูกต้องและจัดทำรูปเล่ม

  9. การกำหนดเรื่องของรายงานการกำหนดเรื่องของรายงาน อาจารย์ผู้สอนกำหนดให้ เรื่องที่เลือกเองได้ (ผู้เขียนรายงานมีอิสระแต่เรื่องที่เลือกทำควรมีขอบเขตเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกับรายวิชาที่เรียน)

  10. หลักของการเลือกเรื่องหลักของการเลือกเรื่อง • ลักษณะของเรื่อง- ตั้งประเด็นปัญหา จากสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก - ผู้ทำมีความรู้ ความชำนาญ หรือ ประสบการณ์- มีคุณค่า น่าสนใจ ทันสมัย- มีประโยชน์- หาเอกสารข้อมูลได้ง่าย และมากพอ • ขอบเขตขอบเรื่อง - ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป - เหมาะสมกับเวลาที่กำหนด

  11. ตัวอย่างขอบเขตของเรื่องตัวอย่างขอบเขตของเรื่อง กว้างมาก การเลี้ยงปลา กว้าง การเลี้ยงปลาสวยงาม แคบ การเลี้ยงปลากัด ......................................................... กว้างมาก สมุนไพร กว้าง สมุนไพรกับการรักษาโรค แคบ สมุนไพรกับการรักษาโรคเอดส์

  12. วิธีการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงวิธีการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลง ใช้แง่มุมที่เหมาะสมของเรื่องปัญหาของสังคม ปัญหายาเสพติด ปัญหาโสเภณีเด็ก ปัญหาชุมชนแออัดเด็ก การให้ภูมิคุ้มกันสำหรับเด็ก เพลงกล่อมเด็กปุ๋ย การทำปุ๋ยหมักปลา การเลี้ยงปลาสวยงาม

  13. วิธีกำหนดขอบเขตของเรื่อให้แคบลงวิธีกำหนดขอบเขตของเรื่อให้แคบลง • ใช้ยุคหรือสมัยเป็นตัวกำหนด เพลงกล่อมเด็กในสมัยปัจจุบัน • ใช้ขอบเขตภูมิศาสตร์กำหนด การเลี้ยงโคนมทางภาคใต้ • ใช้กลุ่มบุคคลเป็นตัวกำหนด ปัญหายาเสพติดในเด็กมัธยมต้นการ เมืองไทยในทรรศนะนักธุรกิจ • ใช้ บางประการ แนวโน้ม แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2550

  14. การหาหัวข้อเรื่อง ประเด็น/คำถามเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียนเดียวกัน อ่านจากเอกสารต่างๆ ที่อาจารย์ผู้สอนแนะนำให้ค้นคว้าเพิ่มเติม ขอคำแนะนำจากบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า การรับรู้สารสนเทศจากสื่อต่างๆ ค้นหาหัวข้อจากสารานุกรมทั่วไปและสารานุกรมเฉพาะวิชา

  15. การเลือกเรื่องจะง่ายและคล่องตัวการเลือกเรื่องจะง่ายและคล่องตัว หนังสือพิมพ์ วารสาร หนังสือ อินเตอร์เน็ต จะได้เรื่องราว ข้อมูลและแง่คิดกว้าวขวางขึ้น สามารถจะเลือกหยิบเอามากำหนดเป็นเรื่องที่จะเขียนได้ อ่าน

  16. ข้อสังเกตการตั้งชื่อเรื่องข้อสังเกตการตั้งชื่อเรื่อง ชื่อเรื่อง กำหนดทิศทาง ขอบเขตของเรื่อง อาจตั้งตามจุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดหรือปัญหาสำคัญ โดยใช้คำที่กะทัดรัด และเหมาะสม ชื่อเรื่องสั้น ขอบเขตรายงานยาว ประเพณีไทย ชื่อเรื่องยาว ชอบเขตรายงานสั้น ประเพณีแต่งงานชาวเขาในภาคเหนือ

  17. การค้นคว้าเพื่อวางโครงเรื่องการค้นคว้าเพื่อวางโครงเรื่อง • การระดมความรู้ • ต้องมีหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา • ต้องรู้จักเครื่องมือในการค้นหาสารสนเทศ Opac,Google • รวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการศึกษา • เตรียมวางโครงเรื่อง • วางโครงเรื่อง

  18. การค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งการค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • มีหัวข้อเรื่องที่จะค้น • ต้องคิดคำเพื่อนำไปใช้สืบค้น • ต้องเป็นคำที่สั้น กะทัดรัด ชัดเจน • คำที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทำ • คำที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทำ • คำที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทำ • คำที่ครอบคลุมกับเรื่องที่ต้องการทำ

  19. การคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นคว้าการคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นคว้า • ต้องการทำรายงานเรื่อง มลพิษของคนเมืองหลวง • คำที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทำ เช่น มลพิษ • คำที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทำ เช่น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ • คำที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทำ เช่น อากาศเสีย น้ำเสีย • คำที่ครอบคลุมกับเรื่องที่ต้องการทำ เช่น สาธารณสุข อนามัย สิ่งแวดล้อม

  20. การคิดหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นหาการคิดหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นหา • ต้องการทำรายงานเรื่อง การเลี้ยงโคนทในภาคใต้ • คำที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทำ เช่น โคนท • คำที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทำ เช่น โคกระบือ • คำที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทำ เช่น โคนม การเลี้ยง • คำที่ครอบคลุมกับเรื่องที่ต้องการทำ เช่น ปศุสัตว์ ฟาร์มโคนม อุตสาหกรรมนมเนย

  21. การสำรวจและรวบรวมแหล่งข้อมูล การสำรวจและรวบรวมแหล่งข้อมูล • เป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานในการเขียนเรื่อง เพื่อดูว่ามีใครเคยเขียนเรื่องราวเหล่านั้นไว้บางหรือไม่ และมีข้อมูลเพียงพอที่จะทำรายงานได้หรือไม่ • รวบรวมข้อมูลจากเครื่องมือสืบค้น • เลือกข้อมูล • การอ่านเบื้องต้น • หาแนวคิด ขอบเขต • รวบรวมหัวข้อเรื่อง • คัดเลือกเอกสาร

  22. ต้องรู้จักเครื่องมือในการสืบค้นสารนิเทศ ต้องรู้จักเครื่องมือในการสืบค้นสารนิเทศ • WebOPACช่วยให้ผู้ใช้ สืบค้นข้อมูล หนังสือ บทความวารสาร ที่ต้องการได้อย่างรวมเร็วได้อย่างสะดวก ครบถ้วนและสมบูรณ์ • นำหัวข้อเรื่องที่คิดไว้ ไปค้นจาก รายการหัวเรื่อง • รายการที่ต้องจด มาจากรายการ OPAC หนังสือ • เลขเรียกหนังสือ เพื่อนำไปค้นหาหนังสือ • รายการบรรณานุกรม เพื่อนำไปใช้เขียนบรรณานุกรม ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/(พิมพ์ครั้งที่).//สถานที่////////พิมพ์:/สำนักพิมพ์.

  23. บทความวารสาร • WebOPACช่วยให้ผู้ใช้ สืบค้นข้อมูล หนังสือ บทความวารสาร ที่ต้องการได้อย่างรวมเร็วได้อย่างสะดวก ครบถ้วนและสมบูรณ์ • บทความวารสาร จะให้เรื่องราว ความคิดแปลกใหม่เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน • รายการที่ต้องจดมาจากรายการ OPAC บทความวารสาร • ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/เดือน).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร,/ปีที่,////////(ฉบับที่),/หน้า/เลขหน้าบทความ.

  24. หนังสืออ้างอิง • พจนานุกรม ศึกษาความหมายของเรื่องที่จะต้องการค้นคว้าทำให้เข้าใจเรื่องราวที่ต้องการทำรายงานได้ถูกต้อง • สารานุกรม จะให้ข้อมูลที่เป็นความรู้พื้นฐาน โดยดูว่าเรื่องที่ต้องการค้นคว้าได้แบ่งหัวข้อเรื่องไว้อย่างไร ทำให้ทราบเค้าโครงเรื่องย่อๆ ทำให้สามารถกำหนดขอบเขตและหัวข้อในโครงเรื่องให้สัมพันธ์กันได้ • ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ชื่อสารานุกรม/(เล่มที่ใช้.)////////หน้า/เลขหน้าบทความ).//สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์.

  25. สารสนเทศอื่นๆ • จุลสาร กฤตภาค รวมทั้งโสตทัศนวัสดุ • เมื่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ • เมื่อพบข้อมูล หรือ บทความไม่ว่าจะเป็นจาก หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สารานุกรม ฐานข้อมูล ฯลฯ ที่คิดว่ามีเนื้อหาตรงหรือเกี่ยวข้อง ให้จัดรายละเอียด ตามแบบบรรณานุกรม เพื่อนำไปใช้สืบค้นข้อมูลต่อไป

  26. วิธีเลือกข้อมูล • คุณวุฒิของผู้แต่ง เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆ • คุณค่าของเอกสาร เลือกฉบับพิมพ์ล่าสุด หรือแหล่งต้นตอ • ความทันสมัยและน่าเชื่อถือ ทั้งเนื้อหาข้อมูลและสถิติเป็นปัจจุบัน ไม่ล้าหลัง และบอกแหล่งที่มาซึ่งเชื่อถือได้

  27. การอ่านเบื้องต้น • เป็นการอ่านเอกสารที่รวบรวมมาได้อย่างคร่าวๆ เพื่อหาหัวข้อเรื่องและเนื้อหาที่ต้องการจากเอกสารว่ามีหัวข้อที่น่าจะใช้เป็นโครงเรื่องได้หรือไม่ ดูจาก • คำนำ • สารบัญ • ดรรชนีท้ายเล่มของหนังสือนั้นๆ • ใช้เครื่องมือช่วยค้น • คัดเลือกเอกสารที่ต้องการ และจดบันทึกหัวข้อเรื่องไว้เพื่อวางโครงเรื่อง

  28. โครงเรื่อง • เค้าโครงเรื่องงานเขียน เปรียบเสมือนพิมพ์เขียว ของการก่อสร้าง • แนวคิดหรือหัวข้อสำคัญ • แนวทางเก็บรวบรวมข้อมูล • ช่วยให้รายงานมีเอกภาพ สารัตถภาพ และ สัมพันธภาพ • ช่วยเน้นย้ำประเด็นสำคัญได้อย่างเหมาะสมและมีเนื้อหาได้สัดส่วนไม่ให้ “ข้อมูลพาไป” • ช่วยให้เนื้อหาครบถ้วน สมบูรณ์ตามหัวข้อขอบเขตประเด็นสำคัญที่กำหนด • ช่วยให้รายงานมีความน่าอ่าน เข้าใจง่าย เพราะจัดความรู้ความคิด อย่างเป็นระบบ

  29. วางโครงเรื่อง เลือกหัวข้อเรื่องที่จะเหมาะสมจะใช้เป็นโครงเรื่องจากที่จดไว้ จัดกลุ่มหัวข้อที่เลือกแล้วให้เป็นหมวดหมู่ สัมพันธ์กัน ปรับหัวข้อเรื่องที่เลือก และจัดกลุ่มให้เหมาะสม เรียงลำดับก่อนหลังตามความสำคัญ รวมกลุ่มหัวข้อเรื่องเป็นหมวดหมู่ ใช้รูปแบบหัวข้อเรื่องเดียวกันโดยตลอด ปรับชื่อรายงานให้สัมพันธ์ สอดคล้องกับโครงเรื่อง

  30. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสารหัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร • นิตยา มหาผล. (2538) มลพิษทางอากาศ. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน(พิมพ์ครั้งที่ 4 ).(เล่มที่ 15. หน้า 213-242).กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. • ผลของการเปลี่ยนแปลงของสารมลพิษ • ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อร่างกายคนและสัตว์ • ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อพืช • แหล่งกำเนิดของมลพิษในอากาศ • การควบคุมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน • การควบคุมมลพิษที่เป็นฝุ่นละออง • การควบคุมสารมลพิษที่เป็นก๊าซ • การควบคุมและป้องกันมลพิษ

  31. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสารหัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร • พัฒนา มูลพฤกษ์. (2546).อนามัยสิ่งแวดล้อม(พิมพ์พ532อ ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุงใหม่).กรุงเทพฯ: ซิกม่า ดีไซน์ กราฟฟิก. • ความสำคัญของอากาศ • แหล่งกำเนิดของสารพิษทางอากาศ • ที่มนุษย์สร้าง • โดยธรรมชาติ • ประเภทของสารเจือปนในอากาศ • ผลเสียของการเกิดมลพิษทางอากาศ • การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ • มาตรฐานคุณภาพอากาศ

  32. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสารหัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร 363.7392 นพภาพร พานิช และวัลภา สอนดี. (2547). ระบบบำบัดมลพิศอากาศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมลพิษอากาศ ประเภทของแหล่งกำเนิดสารมลพิษอากาศ แหล่งกำเนิดตามธรรทชาติ แหล่งกำเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์ ประเภทของสารมลพิษอากาศ ผลกระทบของสารมลพิษอากาศ สถานการณ์มลพิษอากาศในประเทศไทย กฎหมายมลพิษจากอุตสาหกรรม การควบคุมฝุ่นละออง

  33. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสารหัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร • สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา,คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม.(2542). มลพิษทางอากาศ. ค้นเมื่อ เมษาย 14,2549,จาก http://www.riss.ac.th/envi/air.HTML • ความหมายมลพิษทางอากาศ • แหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ • ระบบภาวะมลพิษทางอากาศ(air pollution system) • ปรากฏการณ์เรือนกระจก • การเกิดรูรั่วของโอโซน • การประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ • การควบคุมบำบัด • การตรวจวัดคุณภาพอากาศ

  34. จัดกลุ่มหัวข้อเรื่องที่เลือกจัดกลุ่มหัวข้อเรื่องที่เลือก

  35. ปรับหัวข้อเรื่องที่เลือกและจัดกลุ่มให้เหมาะสมปรับหัวข้อเรื่องที่เลือกและจัดกลุ่มให้เหมาะสม • ความหมายของมลภาวะทางอากาศ • แหล่งกำเนิดของสารมลภาวะทางอากาศ • แหล่งกำเนิดตามธรรมชาติ • แหล่งกำเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์

  36. โครงเรื่อง: มลภาวะทางอากาศของกรุงเทพมหานคร • ความหมายของมลภาวะทางอากาศ (4) • แหล่งกำเนิดของสารมลภาวะทางอากาศ (1,2,3,4) • มลภาวะจากยานยนต์ • มลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรม • มลภาวะจากธรรมชาติ • ผลกระทบของมลภาวะทางอากาศ (1,2,3) • ต่อคน • ต่อสัตว์ • ต่อพืช • การตรวจวัดและสภาพมลภาวะทางอากาศในกรุงเทพมหานคร • การควบคุมและป้องกันมลภาวะทางอากาศ(1,2,3)

  37. รวบรวมเอกสารเพิ่มเติมรวบรวมเอกสารเพิ่มเติม • ให้ดูข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้วว่ามีรายการใดที่ใช้ไม่ได้ • ข้อมูลที่คัดเลือกแล้วครอบคลุมหัวข้อทั้งหมดและเพียงพอที่จะนำมาเรียบเรียงเป็นรายงานหรือไม่ • หากพบว่าบางหัวข้อยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ • สืบค้นสารสนเทศเพิ่มเติม • คัดเลือกเอกสารเพิ่มเติมให้ตรงตามโครงเรื่องที่วางไว้ทุกหัวข้อเพื่อให้ได้ข้อมูลครอบคลุมทุกหัวข้อ

  38. ตัวอย่างโครงเรื่องโรคอ้วนตัวอย่างโครงเรื่องโรคอ้วน • อยากอ้วน • โรคอ้วน • ปัญหาคนอ้วน • สาเหตุของความร้อน • ความอ้วนเป็นโรค • จะทราบได้อย่างไรว่าท่านอ้วนหรือไม่ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  39. ตัวอย่างโครงเรื่อง โรคอ้วน ความอ้วน • ความหมายของความอ้วน • สาเหตุของความอ้วนความผิดปกติของร่างกาย • อาหารและนิสัยการรับประทานอาหาร • โทษของความอ้วน • การลดความอ้วน • ลดด้วยวิธีบริหารร่างกาย • ลดด้วยวิธีควบคุมอาหาร • ลดด้วยวิธีใช้ยาลดความอ้วน โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  40. ตัวอย่างโครงเรื่อง:ผลไม้ตัวอย่างโครงเรื่อง:ผลไม้ • วิถีการตลาดผลไม้ของไทย • การบรรจุหีบห่อ • หลักการเลือกซื้อผลไม้ • การเก็บรักษาผลไม้ • คุณภาพของผลไม้ • ประโยชน์ของผลไม้ในทางโภชนาการ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  41. ตัวอย่างโครงเรื่อง: ผลไม้ • ผลไม้ไทย • ความอุดมสมบูรณ์ของผลไม้ไทย • คุณค่าของผลไม้ไทย • คุณค่าด้านเศรษฐกิจ • คุณค่าด้านโภชนาการ • การเลือกซื้อผลไม้ • การเก็บรักษาผลไม้ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  42. ตัวอย่างโครงเรื่อง: การเลี้ยงสุนัข • สุนัขในบ้าน • ประเภทของสุนัข • ลักษณะหลังอานของสุนัขที่นิยมเลี้ยง • ลักษณะของสุนัขพันธุ์ปักกิ่ง • โรคต่างๆในสุนัข • ปัญหาสำคัญในการเลี้ยงสุนัข • เราคุมกำเนิดสุนัขกันอย่างไร • ความรับผิดชอบของเจ้าของผู้เลี้ยง โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  43. ตัวอย่างโครงเรื่อง: การเลี้ยงสุนัข โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู • ประเภทของสุนัข • สุนัขเพื่อนเล่น • สุนัขเฝ้าบ้าน • สุนัขใช้งาน • ลักษณะของสุนัขบางพันธุ์ • พันธุ์ไทยหลังอาน • พันธุ์ปักกิ่ง • ปัญหาจากการเลี้ยงสุนัข • อาหารและการบำรุงรักษา • การฝึกสุนัข • โรคของสุนัขและการป้องกันรักษา • การคุมกำเนิดและการบำรุงพันธุ์สุนัข

  44. ตัวอย่างโครงเรื่อง: หนังสือพิมพ์ • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ • หนังสือพิมพ์กับการพัฒนาประเทศ • หนังสือพิมพ์ของเรา • หนังสือพิมพ์คืออะไร โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  45. ตัวอย่างโครงเรื่อง: หนังสือพิมพ์ • ความหมายของหนังสือพิมพ์ • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ • หนังสือพิมพ์ของเรา • หนังสือพิมพ์กับการพัฒนาประเทศ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  46. ตัวอย่างโครงเรื่อง: วัตถุมีพิษ • พิษภัยของวัตถุมีพิษทางการเกษตร • อันตรายจากการใช้วัตถุมีพิษในการปรายศัตรูพืช • แนวทางการควบคุมเคมีภัณฑ์อันตราย • ผู้ป่วยหมดสติจาการได้รับสารพิษ • โรคอันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพจากสารเคมี โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  47. ตัวอย่างโครงเรื่อง: วัตถุมีพิษ • ความหมายของวัตถุมีพิษ • ประเภทขอวัสดุ • อันตรายจากวัสดุมีพิษ • มลภาวะของสิ่งแวดล้อม • โรคอันเนื่องมากจากการสะสมของวัตถุมีพิษ • อาการอันเนื่องมาจากการได้รับวัตถุมีพิษ • การควบคุมวัตถุมีพิษ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับดู

  48. สรุปการวางโครงสร้าง • จะเขียนเรื่องใด ให้หาความรู้ในเรื่องนั้นก่อนวางโครงเรื่อง เพื่อเป็นการปูพื้นความรู้ • ชื่อเรื่อง ตั้งให้มีขอบเขตของเนื้อหาพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างจนเกินไป • เลือกสรรประเด็นหรือสาระของเรื่องตั้งเป็นหัวข้อของโครงเรื่อง • การให้เลขกำกับหัวข้อของโครงเรื่อง ใช้ระบบเดียวกันโดยตลอด • ตำแหน่งของหัวข้อเรื่อง : • ชื่อเรื่องอยู่กลางหัวกระดาษ • หัวข้อใหญ่อยู่ชิดเส้นขอบหน้า(เส้นคั่นหน้า) • หัวข้อรองย่อหน้า 5-7 ตัวอักษร • หัวข้อยิ่งย่อย ย่อหน้ายิ่งลึก

  49. การรวบรวมข้อมูลและเนื้อหาการรวบรวมข้อมูลและเนื้อหา รูปแบบของบัตรบันทึก หัวข้อเรื่อง เป็นสิ่งแรกที่จะต้องบันทึก ใช้ตามหัวข้อในโครงเรื่อง เอกสารที่ใช้ค้นคว้า ดูว่าใช้เอกสารประเภทใด ให้ลงรายการบรรณานุกรมตามแบบฟอร์มของเอกสารประเภทนั้น หน้าที่ค้นคว้า หน้าที่มีข้อมูลของหัวข้อเรื่องที่บันทึกปรากฏอยู่ เนื้อหาสาระที่บันทึก เก็บความจากเอกสาร ตรงหัวข้อเรื่องหรือไม่ มีแก่นและส่วนขยายแก่น ครบถ้วนหรือไม่หากมีความคิดเห็น แงคิดข้อสังเกต หรือพบสิ่งขาดตกบกพร่องใดๆ ควรบันทึกเสริมไว้ด้วยและทำเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็นของผู้บันทึก ชื่อห้องสมุดที่ค้นคว้า

  50. การรวบรวมข้อมูลและเนื้อหาการรวบรวมข้อมูลและเนื้อหา • บัตรบันทึกแผ่นหนึ่งๆ ใช้บันทึกเพียงหัวข้อเพียงเรื่องเดียวเท่านั้น • หัวข้อเรื่องเดียวกัน ถ้าบันทึกจากเอกสารต่างเล่มกันให้ใช้บัตรบันทึกแยกแผ่นกัน • เอกสารเล่มเดียวกัน แต่บันทึกต่างหัวข้อกันให้ใช้แยกบัตรบักทึกกัน • ถ้าบัตรบันทึกมีเนื้อหาที่ไม่พออาจใช้หน้าหลัง คว่ำบัตรกลับหัวลง การบันทึกหน้าหลังจะกลับหัวกับด้านหน้าเพื่อให้สะดวกเวลาใช้งาน • หากมีความคิดเห็น ข้อสังเกต หรือข้อวิเคราะห์ วิจารณ์ เกิดขึ้นในระหว่างการเก็บความ ก็ควรบันทึกเสริมไว้ท้ายบัตรแผ่นนั้นด้วย แต่ควรทำหมายเหตุให้ทราบว่าเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้บันทึกเอง

More Related