290 likes | 449 Views
จุดเน้นและทิศทาง การขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. โดย ดร.ชินภัทร ภูมิ รัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. นโยบาย : ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา. เร่งรัดการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและสานต่องานที่ได้ดำเนินการไว้แล้ว. นโยบาย.
E N D
จุดเน้นและทิศทางการขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานจุดเน้นและทิศทางการขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นโยบาย : ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา เร่งรัดการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและสานต่องานที่ได้ดำเนินการไว้แล้ว นโยบาย 1. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน การปฏิรูปหลักสูตร การปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ การทดสอบ/วัดและประเมินผลผู้เรียน
ปฏิรูปหลักสูตรสู่ความทันสมัย เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก • ทบทวนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด • วิจัยผลการใช้หลักสูตร • วิจัยเปรียบเทียบการจัดหลักสูตรของนานาชาติ • เตรียมปรับหลักสูตรแกนกลาง’ 51 สู่การปฏิรูปหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานแห่งชาติ
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนสู่โลกศตวรรษที่ 21 • กำหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน • ปรับการเรียนรู้แบบแยกส่วนสู่การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ • สร้างความรู้ความเข้าใจบุคลากรหลักระดับปฏิบัติทุกเขตพื้นที่การศึกษา • จัดทำเอกสารแนวทางการนำสู่การปฏิบัติ 10 รายการ ให้มีการนำไปใช้ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 • ติดตามผลการปฏิบัติผ่านระบบ Online • ปรับจุดเน้นความสำคัญของการเรียนการสอนจากครูสู่ผู้เรียน (The Flipped Classroom) เพื่อการเรียนรู้จริงตามศักยภาพโดยใช้สื่อ ICT เป็นเครื่องมือ • สร้างความรู้ความเข้าใจบุคลากรหลักทุกเขตพื้นที่การศึกษา
ปรับวิธีการสอนจากการถ่ายทอดเนื้อหาสู่การเน้นกระบวนการ ที่สอดคล้องกับประสบการณ์จริงในชีวิต ตามแนว PISA • อบรมศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา • จัดค่ายพัฒนาผู้เรียน • จัดทำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน • รวบรวมเทคนิคการสอนที่สอดคล้องตามแนว PISA ของประเทศต่างๆบันทึก DVD เผยแพร่
ปรับจุดเน้นด้านความสามารถให้มีความเข้มแข็งด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Ability) • จัดทำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล • สร้างความรู้ความเข้าใจบุคลากรหลักระดับปฏิบัติของเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขต • ปรับผู้เรียนเพื่อเตรียมรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • พัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สองและภาษาอาเซียนจัดตั้งศูนย์เครือข่าย 117 ศูนย์ 11 ภาษา • พัฒนาศักยภาพครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีด้วยภาษาอังกฤษอย่างยั่งยืน
สถานศึกษา ความก้าวหน้าในการดำเนินงานพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ กลุ่มเป้าหมายการพัฒนาภาษาอังกฤษทั้งระบบ นักเรียน ครู/ ศน./ผู้บริหาร Strategies เครือข่าย หลักสูตร สื่อรูปแบบการสอน
ผลการพัฒนาที่ผ่านมา (2553 – 2555) 1. ร.ร.มีหลักสูตร/สื่อ/รูปแบบการจัดการเรียนรู้/ การวัดประเมินผลที่เหมาะสม นักเรียนได้พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษอย่างหลากหลาย 1. ผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนสูงขึ้น 2. นักเรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสูงขึ้น 1. โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ร.ร.EP/MEP/EBE ห้องเรียนพิเศษจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2. เครือข่ายฯ ดำเนินงานพัฒนาการเรียน การสอนภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ • ครูภาษาอังกฤษร้อยละ 80 มีความรู้ภาษาอังกฤษอย่างน้อยระดับกลาง • 2. ครูภาษาอังกฤษสามารถจัดการเรียนการสอนบรรลุผลตามมาตรฐานหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาครูสอนภาษาอังกฤษรูปแบบการพัฒนาครูสอนภาษาอังกฤษ สำรวจจำนวน จัดระบบข้อมูลพื้นฐาน ประเมินความรู้ด้านภาษาอังกฤษ จัดกลุ่มตามระดับความสามารถ ADVANCED INTERMEDIATE BASIC พัฒนาเข้มเพื่อยกระดับความรู้ให้ถึง Intermediate อบรมเตรียมความพร้อมสอบ TKT ประเมินเพิ่มเติมเพื่อ คัดอบรมต่างประเทศ ประเมินเพื่อตรวจสอบและจัดระดับความสามารถ ทดสอบความรู้ ด้านการสอน อบรมต่างประเทศ สรุปผลการพัฒนา/วางแผนพัฒนาต่อเนื่อง
ผลการประเมินเพื่อจัดระดับความสามารถของครู เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา 3,701 (3.92%) 29,838 (31.65%) 60,732 (64.42%) รวม 81,455 คน
การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมสำหรับครูที่ไม่จบเอกภาษาอังกฤษ สำหรับชั้น ป.1 – ป.6 • พัฒนาและจัดสรรชุดสื่อพร้อมใช้(แผนการสอน บัตรภาพ/บัตรคำ ซีดีการออกเสียง คลิปวิดีโอ) Teacher’s Kit • จัดอบรมการใช้สื่อ Teacher’s Kit และอบรมด้าน Classroom Language, Phonics • นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน • ร.ร. ประถมศึกษาที่ใช้สื่อ Teacher’s Kit จำนวน 23,000 ร.ร.
ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและแนวทางแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและแนวทางแก้ไข ข้อจำกัด • ชั้น ป.1-3 เรียนเพียง 1 ชม./สัปดาห์ • ชั้น ป.4-6 เรียน 2 ชม./สัปดาห์ • ขาดบริบท/โอกาสใช้ภาษาอังกฤษ การลดข้อจำกัด • การสอนด้วยรูปแบบสองภาษา • ไม่เพิ่มชั่วโมงเรียนภาษาอังกฤษ • ครูและนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน
เร่งพัฒนา/ยกระดับการสอนสองภาษาเร่งพัฒนา/ยกระดับการสอนสองภาษา
สร้างความเข้มแข็งเครือข่ายครอบคลุมทุกพื้นที่สร้างความเข้มแข็งเครือข่ายครอบคลุมทุกพื้นที่ • พัฒนาศูนย์ ERIC ซึ่งมีครบทุกเขตพื้นที่ ปัจจุบันมี 188 ศูนย์ และศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา PEER Center ครบทุกอำเภอ ปัจจุบันมี 881 ศูนย์ • จัดอบรมประจำปีเพื่อพัฒนาผู้จัดการศูนย์ ERIC และครูผู้ประสานงานศูนย์ PEER Center และจัดสรรงบประมาณให้อบรมขยายผลครูในพื้นที่และจัดค่ายภาษาอังกฤษ • จัดสรรสื่อ งบประมาณเพื่อพัฒนาศูนย์ในการให้บริการครูและนักเรียน และจัดกิจกรรมพัฒนาครูและนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ
การทดสอบ/วัดและประเมินผลผู้เรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินระดับนานาชาติ(PISA TIMSS ) การประเมินระดับชาติ (O-NET) การประเมิน NT LAS Pre O-NET
การประเมิน NT ประเมินความสามารถนักเรียน เทียบเคียงนานาชาติ (PISA) • ความสามารถด้านภาษา (Literacy) • ความสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) • ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning ability) ข้อสอบที่ใช้ • สร้างด้วยกระบวนการสร้างข้อสอบมาตรฐาน เน้นการคิดวิเคราะห์ • รูปแบบหลากหลาย คล้าย PISA • อิงมาตรฐาน ตัวชี้วัดหลักสูตร ผลการประเมิน • แก้ไขข้อบกพร่องผู้เรียนรายบุคคล ให้สามารถคิดวิเคราะห์ได้ • ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลแนวใหม่
ผลการประเมิน PISA ผลการประเมิน NT ผลสัมฤทธิ์นักเรียน หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาครู
นโยบาย : ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา เร่งรัดการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและสานต่องานที่ได้ดำเนินการไว้แล้ว นโยบาย 2. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู พัฒนาครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนวิทยฐานะ ด้วยการประเมินสมรรถนะ
การพัฒนาครู ผู้บริหาร บุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ 2556 ครูโรงเรียนดีศรีตำบลอบรมคุณธรรม จริยธรรม 6,545 โรง 116,447 คน ครู/บุคลากรทุกเขตพื้นที่การศึกษาเข้าวัด/มัสยิดปฏิบัติธรรม 225 เขต 22,500 คน ครูโรงเรียนในฝันอบรมคุณธรรม จริยธรรม 2,628 โรง 98,628 คน (กำลังดำเนินการ) ทุนเรียน ป. โท (กำลังดำเนินการ) ผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรสูงขึ้น e – training 99 รายวิชา (กำลังดำเนินการ) นักเรียนมีความสามารถ -Literacy -Numeracy -Reasoning ability ตามระดับชั้น ครูดี ยกย่องเชิดชูเกียรติ Browser in Service สพม./สพป. + มหาวิทยาลัย Coaching Mentoring On the job training 23, 000 คน (กำลังดำเนินการ) ครู ครูเก่ง นักเรียน พัฒนาการสอน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ โดย e- Coaching ผ่านห้องเรียนเสมือนจริง ปีงบประมาณ 2547 Learning to -Question -Search -Construct -Communicate -Serve ครูสู่สากล แลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายในเขตพื้นที่(กำลังดำเนินการ) พัฒนาก่อนแต่งตั้งลงตำแหน่ง (ผู้บริหาร, ศน.) โปรแกรม E.I.S พัฒนาการสอน วิทยาศาสร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ 10,000 คน พัฒนาการสอน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษผ่านจอ 5,280 คน พฤษภาคม – ตุลาคม 2556 พัฒนาการสอน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ โดย ICT ผ่านเครือข่ายนานาชาติ สิงหาคม 56 – เมษายน 57 มีความพร้อม -สู่ประชาคมอาเซียน -โลกในศตวรรษที่ 21 พัฒนาให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนวิทยฐานะ ด้วยการประเมินสมรรถนะ (TPK Model)
รูปแบบการประเมินสมรรถนะ TPK Model ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน (Student Achievement) ๗๐ % ๕๐ % O - NET สมรรถนะการสอน (Pedagogical Competency) สมรรถนะทางวิชาการ (Academic / Theoretical Competency)
สมรรถนะทางวิชาการ ( Academic / Theoretical Competency) ชำนาญการ Competency = Basic Student Achievement ๕๐ Percentile Rank ชำนาญการพิเศษ Competency = Intermediate Student Achievement ๖๐ Percentile Rank เชี่ยวชาญ Competency = Advanced Student Achievement ๗๐ Percentile Rank
การพัฒนาครู เพื่อนำไปสู่การเลื่อนวิทยฐานะ Awarding Body สำนักงาน ก.ค.ศ. Certifying Body Teacher Training Institute - คณะศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ - สถาบันทางวิชาการ ๘ กลุ่มสาระ - หน่วยงานรับรองสมรรถนะครู เช่น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)/สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ฯลฯ
นโยบาย : ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา เร่งรัดการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและสานต่องานที่ได้ดำเนินการไว้แล้ว นโยบาย 3. เร่งนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการปฏิรูป การเรียนรู้ การพัฒนา ICT เพื่อการศึกษา
การพัฒนา ICT เพื่อการศึกษา 1. การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 2. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2.1 สนับสนุนการบริหารจัดการสำนักงาน 2.2 สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน 3. การพัฒนาระบบเครือข่าย (Network) 4. การพัฒนาบุคลาการด้าน ICT